สมัครสมาชิกรับ 68 บาท สล็อตทําเงินqa
มารู้จักกัน มารับฟังบทเพลง เพื่อบรรเลงทำนองของ “เร
฿69755
บาท4
ห้องนอน
09
ห้องน้ำ
354
ตร.ม.
฿ 1139
/ ตารางเมตร
สมัครสมาชิกรับ 68 บาท สล็อตทําเงินqa
วันนี้ (17 มิ.ย.2565) นพ.เกียรติภูมิ วงศ์รจิต ปลัด
UID: 78992
รื้อระบบรัฐไทย ทบทวนกลไกดูแลผู้ลี้ภัยให้เป็นระบบ เสียงระเบิดและลูกกระสุนดังขึ้นในหมู่บ้านของซอว์ เนอ
เมื่อวันที่ 22 ธ.ค.2565 เจ้าที่ตำรวจ สน.ท่าข้าม พร้อมกำลังฝ่ายป้องกันปราบปรามและฝ่ายสืบสวน สน.ข้ามแล
รื้อระบบรัฐไทย ทบทวนกลไกดูแลผู้ลี้ภัยให้เป็นระบบ เสียงระเบิดและลูกกระสุนดังขึ้นในหมู่บ้านของซอว์ เนอ มู ลูกแล้วลูกเล่า ขณะที่เขาทำงานอยู่ในทุ่งนา เขารีบวิ่งกระหือกระหอบกลับบ้านหาลูกเมีย เพื่อจะได้พาหนีไปด้วยกัน... รื้อระบบรัฐไทย ทบทวนกลไกดูแลผู้ลี้ภัยให้เป็นระบบ แต่แล้วในบ้านหลังนั้นกลับมีแต่ความว่างเปล่า ไม่มีลูก ไม่มีเมีย ซอว์ เนอ มู ตัดสินใจหนีจากหมู่บ้านมาเพียงลำพังด้วยใจที่เจ็บปวด ในเดือนพฤศจิกายนปีที่แล้ว หลังจากนั้นซอว์ เนอมูได้เดินเท้าจากรัฐกะเหรี่ยงในเขตตะวันออกของประเทศพม่าเข้ามาหลบภัยในประเทศไทย เหตุการณ์ดังกล่าวไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในแถบตะเข็บชายแดนไทย แต่ยืดเยื้อยาวนานมากกกว่า 25 ปีแล้ว แม้ประเทศไทยไม่ได้ให้การรองรับผู้หนีภัยจากการสู้รบจากประเทศพม่าว่าเป็นผู้ลี้ภัย(Refugee) ตามกติการะหว่างประเทศ แต่ก็อนุญาตให้ผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่าอยู่ในพื้นที่พักพิงชั่วคราว 9 แห่ง ใน 4 จังหวัด ได้แก่ ราชบุรี กาญจนบุรี ตาก และแม่ฮ่องสอน นับแต่ปี 2527 เป็นต้นมา จนปัจจุบันมีผู้หนีภัยเข้ามาในประเทศไทยจำนวนมากกว่า 140,000 คนแล้ว ตัวเลขดังกล่าวยังไม่ได้รวมผู้หนีภัยนอกค่าย ซึ่งมีหลายประทศ อาทิ ศรีลังกา ปากีสถาน โซมาเลีย จีน ซึ่งสวนใหญ่หนีภัยสู้รบเข้ามาในไทยและรอการส่งกลับไปประทศที่สาม บางรายไม่มีสาถานะผู้ลี้ภัย จนทำให้มีผู้ลี้ภัยอยู่จำนวนไม่น้อย แต่ยังไม่มีการรวบรวมข้อมูลเป็นตัวเลขไว้ นายสุรพงษ์ กองจันทึก ประธานอนุกรรมการสิทธิมนุษยชนด้านชนชนติ ผู้ไร้สัญชาติ แรงงานข้ามชาติและผู้พลัดถิ่นสภาทนายความ กล่าวว่า สถานการณ์ของที่พักพิงชั่วคราวทั้ง 9 แห่งใน 4 จังหวัด ยังคงมีองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร เข้าไปแลบรรเทาความเดือดร้อนผู้หนีภัย อาทิ เขาไปแจกอาหารแห้ง วัสดุสำหรับที่อยู่อาศัย การศึกษาระดับพื้นฐาน- กลาง บริการสาธารณสุข จัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม เป็นต้น แต่ในช่วงที่ผ่านมาองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร องค์กรระหว่างประเทศเข้ามาช่วยลดน้อยลง เนื่องมาจากผลกระทบของเศรษฐกิจโลก ซึ่งกระทบในเรื่องของการหาอาหารที่มีน้อยอยู่แล้ว ให้น้อยลงไปอีก ซึ่งอาจจะทำให้พวกเขาหลบหนีออกมาหางานทำ จนเกิดปัญหาการแย่งงานกันทำ นายสุรพงษ์ กล่าวต่อว่า นอกจากนี้ในส่วนของการดูแลของรัฐบาลไทย ในพื้นที่ จ.ตาก ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นคือ นายสามารถ ลอยฟ้า ผู้ว่าราชการจังหวัดตาก ได้ให้สัมภาษณ์เมื่อช่วง 3-4 เดือนที่ผ่านมาว่า ทางการพม่าไฟเขียวให้ส่งผู้หนีภัยเข้าประเทศพม่าได้แล้ว จากนั้น จ.ตาก ก็ได้มีการสำรวจและลงทะเบียนผู้หนีภัยไว้ ซึ่งสร้างความตื่นตระหนกให้กับคนที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก โดยเฉาะตัวผู้หนีภัยที่ไม่กล้าเปิดเผยตัว เพราะรู้สึกถึงความไม่ปลอดภัย และที่ผ่านพม่ายังเกิดการสู้รบกันอยู่ตลอดเวลา และยังไม่เห็นว่าพม่าได้เตรียมการรองรับผู้หนีภัยหรือการจัดการเอาไว้ “ทางอนุกรรมการสิทธิฯ ได้ทำความเห็นส่งถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นรัฐบาล ทหาร สมช. เพื่อเสนอว่า หลักการส่งผู้หนีภัยกลับเข้าประเทศ จะต้องไม่ผลักตันให้พวกเขาไปสู่สงคราม ที่อาจจะก่อให้พวกเขาเกิดความตาย และหากจะส่งกลับต้องเป็นไปโดยสมัครใจ แต่อย่างไรก็ตามหน่วยงานที่มีสิทธิ์ตัดสินใจส่งผู้หนีภัยหลับประเทศก็ไม่มีท่าที หรือส่งสัญญาณว่าจะให้ส่งผู้หนีภัยกลับประเทศ ตามที่ผู้ว่าฯ จ. ตากให้สัมภาษณ์ไว้” นายสุรพงษ์ กล่าว สถานการณ์ที่เกิดขึ้นบริเวณชายแดนยังไม่สงบจริงตามการคาดการณ์ของสภาทนายความ เนื่องจากสองสามเดือนหลังจากที่ ซอว์ เนอ มู หลบภัยเข้ามาในประเทศไทยเขาได้พยายามกลับไปดูลาดลาวที่บ้านเกิดของตัวเอง แต่แล้วซอว์ เนอ มู ต้องพบกับเหตุการณ์ที่เลวร้ายที่สุดในชีวิตคือ ทหารพม่าบังคับให้คนในหมู่บ้านขับรถแทรกเตอร์อีแต๋นไปส่งกำลังพลและยุทธภัณฑ์ต่างๆ โดยจ่ายเงินจำนวนน้อยนิดแทบไม่พอค่าน้ำมัน “พวกเราขับรถอยู่สองวันสองคืนในป่าท่ามกลางสายฝน โดยไม่ได้หยุดพักแม้แต่จะกินข้าว” ซอว์ เนอ มู เล่าความในใจ และหลังเสร็จสิ้นภารกิจสุดโหด เขารีบรุดเดินข้ามชายแดนเข้ามาประเทศไทยอีกครั้ง พร้อมกับกล่าวว่า “ชาวบ้านฝั่งโน้นอยู่กันไมได้หรอก เพราะโดนบังคับให้ใช้แรงงานกัน ผมก็อยากกลับบ้านนะ แต่ให้สถานการณ์มันดีขึ้นกว่านี้ก่อน ตอนนี้ยังน่ากลัวอยู่ จึงไม่กล้ากลับไป” จากปัญหาและการหลบร้อนมาพึ่งเย็นที่เกิดขึ้นนั้น นายสุรพงษ์ สะท้อนว่า การแก้ไขปัญหาโดยการส่งกลับประเทศต้นทางเป็นเรื่องที่จัดการยากลำบาก เดิมทีทุกคนที่เป็นผู้ลี้ภัยต้องการกลับประเทศกันหมด แต่เนื่องจากเหตุการณ์สู้รบบานปลายออกไป 2 ปี บ้าง 3 ปีบ้าง จนล่าสุดยืดออกไปเป็น 20 -30 ปี หากพวกเขาจะกลับไปก็ไม่ทราบว่าบ้านที่เขาเคยอยู่อาจจะมีคนอื่นเข้าไปจับจองแล้ว ส่งผลให้ไม่มีที่ทำกินตามไปด้วย เท่ากับไม่มีอะไรเหลือไว้สำหรับพวกเขา ดังนั้นการแก้ปัญหาของรัฐบาลชุดใหม่ ทำได้โดยผลักดันให้ไปอยู่ประเทศที่สาม รวมถึงเข้าไปสนับสนุนให้ประเทศพม่าและชนกลุ่มน้อยยุติการสู้รบ จนก่อให้เกิดความสันติถือเป็นส่งที่รัฐบาลไทยควรทำที่สุด เพราะปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ได้เกิดขึ้นเพียงภายในประเทศพม่าเท่านั้น แต่ยังส่งผลถึงประเทศไทยด้วย ที่ต้องให้การช่วยเหลือและดูแลผู้หนีภัยสงครามเพราะคือหลักมนุษยธรรมเบื้องต้น นอกจากนี้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ลี้ภัยทั่วโลกพบว่า มีคนมากว่า 43 ล้านคนในโลกที่ถูกบังคับให้ย้ายถิ่นที่อยู่ มากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา มากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ เป็นผู้หญิงและเด็ก มากกว่า 40 เปอร์เซ็นต์อายุน้อยกว่า 18 ปี และในจำนวนประชากรโลก 158 คนจะมีผู้ลี้ภัย 1 คน ขณะประเทศต้นทางของผู้ลี้ภัย 5 อันดับแรกของโลกคืออัฟกานิสถาน 3 ล้านคน อิรัก 1.7 ล้านคน โซมาเลีย 7 แสนคน คองโก 4.7 แสนคน และพม่า 4 แสนคน ขณะที่การขับเคลื่อนล่าสุดเกี่ยวกับสถานการณ์ผู้ลี้ภัยในประเทศไทย ทางฮิวแมนไรท์วอซประจำประเทศไทย ได้เข้ายื่นวาระด้านสิทธิมนุษยชนสำหรับรัฐบาล ต่อนายกรัฐมนตรี ในประเด็น การคุ้มครองสิทธิของผู้ลี้ภัยและการป้องกันไม่ให้มีการบังคับส่งกลับผู้ลี้ภัย โดยนายสุนัย ผาสุก ที่ปรึกษาองค์กรฮิวแมนไรท์วอซประจำประเทศไทย ให้ข้อมูลว่า ปัจจุบันตัวเลขผู้หนีภัยที่เข้ามาในประเทศไทยมีจำนวนที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปัจจุบันมีมากกว่า 150,000 คน แบ่งออกเป็นผู้ลี้ภัยสงครามการสู้รบจากประเทศพม่า ผู้พลัดถิ่นจากประเทศอื่นๆ โดยช่วงก่อนหน้านี้ผู้หนีภัยส่วนใหญ่จะเข้ามาอยู่ในประเทศในรูปแบบที่อยู่ยาวนาน แต่ช่วงหลังนี้ผู้หนีภัยที่เป็นชนกลุ่มน้อย ที่มีการสู้รบกับทหารพม่า จะเข้ามาประพักพิงแบบชั่วคราว หลังเหตุการณ์สงบเขาจะเดินทางไปกลับ ซึ่งจะเป็นแบบไปๆ กลับๆ อาจจะเนื่องจากคนกลุ่มนี้เขามีบ้านและทรัพย์สินที่ต้องดูแล อย่างไรก็ตามในเรื่องของระบบจัดการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับผู้หนีภัยของรัฐไทยที่ผ่านมานั้น นายสุนัย พบจุดอ่อนของรัฐไทยว่า เมื่อได้รับสัญญาณจากฝั่งทางพม่าว่า การสู้รบเข้าสู่สภาวะปกติแล้วทางรัฐไทยก็จะส่งผู้หนีภัยกลับไปประเทศต้นทางทันที โดยไม่มีการกลั่นกรองตรวจสอบลักษณะของผู้หนีภัย จากเจ้าหน้าที่จากสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ สำนักงานภูมิภาคประจำประเทศไทย (UNHCR) ทำให้เกิดข้อครหาว่ารัฐไทยไม่ได้ปฏิบัติตามอาจไม่กฎกติกาสากลในการส่งกลับผู้ลี้ภัยดังกล่าว ตามหลักการสากลแล้ว UNHCR จะต้องประเมินก่อนว่ารัฐไทยมีเหตุผลเพียงพอที่จะส่งพวกเขากลับประเทศต้นทางหรือไม่ สถานการณ์การสู่รบเกิดความสงบจริงหรือไม่ และหากส่งกลับไปแล้วพวกเขาจะถูกกดขี่ หรือถูกริดรอนสิทธิจากทหารพม่าหรือไม่ ทั้งนี้UNHCสมัครสมาชิกรับ 68 บาท สล็อตทําเงินqaR กับหน่วยงานของไทยได้เคยพยายามวางกรอบการทำงานร่วมกัน แต่กลับชะงักงันไปในช่วงรัฐบาลทักษิณ นอกจาก ความไม่ชัดเจนของนโยบายการจัดการกับผู้ลี้ภัยอย่างเป็นระบบยังส่งผลให้การทำงานของคณะกรรมการระดับจังหวัดในการพิจารณาอนุญาตให้ผู้ลี้ภัยการสู้รบจากพม่าเข้าไปอาศัยอยู่ในพื้นที่พักพิงชั่วคราวสำหรับผู้หนีภัยจากการสู้รบพม่า ซึ่งเป็นกลไกที่ใช้ในการจัดการให้ความช่วยเหลือ หรือรับรองสถานการณ์เป็นผู้หนีภัยความตายของรัฐบาลไทย โดยมีคณะกรรมการระดับจังหวัด (Provincial Admission Board-PAB) ได้แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด ฝ่ายทหาร ฝ่ายตำรวจ และ UNHCR มีการทำงานที่ไม่สม่ำเสมอ และไม่มีความเข้มแข็งในการคัดกรอง ผู้หนีภัยได้หนีจากการสู้รบในประเทศพม่าจริง หรือมีเหตุผลทางการเมือง ทำให้กลับประเทศสหภาพพม่าไม่ได้ เหตุการณ์ที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนถึงความไม่ใส่ใจในการจัดการผู้ลี้ภัยของรัฐบาลไทย คือ การเกิดเหตุปะทะกันระหว่างกองกำลังกะเหรี่ยงพุทธกับกองทัพรัฐบาลที่ อ. เมียวดี ในเดือนพฤศจิกายน 2553 ส่งผลให้ผู้หนีภัยสู้รบกว่าสองหมื่นคนหนีตายมายังฝั่งไทย อ.แม่สอด อ.พบพระ และด่านเจดีย์สามองค์ หากแต่เป็นกลุ่มที่ฝ่ายความมั่นคงภายใต้การดูแลของรัฐบาลไทยชุดนายอภิสิทธิ์ไม่นับว่าเป็นผู้ลี้ภัยและไม่มีการดำเนินการให้สถานะใดๆ แต่ให้ผู้หนีภัยสู้รบพักอาศัยอยู่ชั่วคราวก่อนที่จะมีการผลักดันกลับอย่างไม่มีความปลอดภัยที่แน่ชัด และเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม รัฐบาลไทยได้ละเมิดหลักการคุ้มครองผู้ลี้ภัย อย่างรุนแรง ด้วยการส่งกลับผู้แสวงหาที่ลี้ภัยที่ได้รับผลจากการสู้รบ 166 คน แม้จะได้รับการทักท้วงถึงความไม่ปลอดภัยก็ตาม หลังเปลี่ยนผ่านรัฐบาลการทำงานด้านความมั่นคงอาจเปลี่ยนไป โดยที่ปรึกษาองค์กรฮิวแมนไรท์วอซ ได้ให้ความเห็นถึงบทบาทการทำงานของรัฐบาลชุดใหม่ ที่มอบหมายให้พล.ต.อ. โกวิท วัฒนะ รองนายกรัฐมนตรี ที่รับผิดชอบงานด้านความมั่นคง รวมถึงตัวรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศที่เข้ามาทำงานเกี่ยวกับเรื่องผู้ลี้ภัยโดยตรงว่า ที่ผ่านมาไม่เคยเห็นภาพการทำงานของทั้งสองท่านด้านนี้มาก่อน จึงต้องให้เวลาพิสูจน์การทำงานว่าจะเป็นรูปแบบใด แต่ในส่วนของนโยบายของพรรคเพื่อไทย ที่สอดคล้องกับการช่วยเหลือผู้ลี้ภัยเพียงไม่กี่บรรทัดว่า จะดูแลเรื่องหลักสิทธิมนุษยชนภายในประเทศให้สอดคล้องกับกฎกติกาสากลที่ทั่วโลกปฏิบัติ ซึ่งถือว่าเป็นกรอบที่ดี เนื่องจากสอดคล้องกับกติกาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ ดังนั้นเรื่องเร่งด่วนที่รัฐบาลชุดใหม่ควรทำคือ รื้อระบบงานให้กลไก PAB ที่มีการกลั่นกรองผู้หนีภัย ให้กลับมาทำงานอย่างสม่ำเสมอมีความเข็มแข็ง และให้ UNHCR เข้ามาทำงานประเมินสถานการณ์ก่อนส่งผู้หนีภัยกลับประเทศต้นทาง โดยรัฐบาลไทยเองก็ไม่ได้เสียประโยชน์ เนื่องจากงบประมาณที่ได้เป็นการเรี่ยรายจากประเทศไม่แสวงหาผลกำไร นอกจากนี้รัฐบาลต้องให้ UNHCR เข้ามาจัดระบบผู้หนีภัยที่เข้ามาอยู่ในที่พักพิงให้มีการจดทะเบียนให้เกิดเป็นระบบ ถึงเวลาแล้วที่รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องกลับมารื้อระบบการช่วยเหลือผู้หนีภัย ให้เป็นระบบและกลั่นกรองจากหน่วยงายที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามหลักมนุษยธรรม แต่แล้วในบ้านหลังนั้นกลับมีแต่ความว่างเปล่า ไม่มีลูก ไม่มีเมีย ซอว์ เนอ มู ตัดสินใจหนีจากหมู่บ้านมาเพียงลำพังด้วยใจที่เจ็บปวด ในเดือนพฤศจิกายนปีที่แล้ว หลังจากนั้นซอว์ เนอมูได้เดินเท้าจากรัฐกะเหรี่ยงในเขตตะวันออกของประเทศพม่าเข้ามาหลบภัยในประเทศไทย เหตุการณ์ดังกล่าวไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในแถบตะเข็บชายแดนไทย แต่ยืดเยื้อยาวนานมากกกว่า 25 ปีแล้ว แม้ประเทศไทยไม่ได้ให้การรองรับผู้หนีภัยจากการสู้รบจากประเทศพม่าว่าเป็นผู้ลี้ภัย(Refugee) ตามกติการะหว่างประเทศ แต่ก็อนุญาตให้ผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่าอยู่ในพื้นที่พักพิงชั่วคราว 9 แห่ง ใน 4 จังหวัด ได้แก่ ราชบุรี กาญจนบุรี ตาก และแม่ฮ่องสอน นับแต่ปี 2527 เป็นต้นมา จนปัจจุบันมีผู้หนีภัยเข้ามาในประเทศไทยจำนวนมากกว่า 140,000 คนแล้ว ตัวเลขดังกล่าวยังไม่ได้รวมผู้หนีภัยนอกค่าย ซึ่งมีหลายประทศ อาทิ ศรีลังกา ปากีสถาน โซมาเลีย จีน ซึ่งสวนใหญ่หนีภัยสู้รบเข้ามาในไทยและรอการส่งกลับไปประทศที่สาม บางรายไม่มีสาถานะผู้ลี้ภัย จนทำให้มีผู้ลี้ภัยอยู่จำนวนไม่น้อย แต่ยังไม่มีการรวบรวมข้อมูลเป็นตัวเลขไว้ นายสุรพงษ์ กองจันทึก ประธานอนุกรรมการสิทธิมนุษยชนด้านชนชนติ ผู้ไร้สัญชาติ แรงงานข้ามชาติและผู้พลัดถิ่นสภาทนายความ กล่าวว่า สถานการณ์ของที่พักพิงชั่วคราวทั้ง 9 แห่งใน 4 จังหวัด ยังคงมีองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร เข้าไปแลบรรเทาความเดือดร้อนผู้หนีภัย อาทิ เขาไปแจกอาหารแห้ง วัสดุสำหรับที่อยู่อาศัย การศึกษาระดับพื้นฐาน- กลาง บริการสาธารณสุข จัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม เป็นต้น แต่ในช่วงที่ผ่านมาองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร องค์กรระหว่างประเทศเข้ามาช่วยลดน้อยลง เนื่องมาจากผลกระทบของเศรษฐกิจโลก ซึ่งกระทบในเรื่องของการหาอาหารที่มีน้อยอยู่แล้ว ให้น้อยลงไปอีก ซึ่งอาจจะทำให้พวกเขาหลบหนีออกมาหางานทำ จนเกิดปัญหาการแย่งงานกันทำ นายสุรพงษ์ กล่าวต่อว่า นอกจากนี้ในส่วนของการดูแลของรัฐบาลไทย ในพื้นที่ จ.ตาก ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นคือ นายสามารถ ลอยฟ้า ผู้ว่าราชการจังหวัดตาก ได้ให้สัมภาษณ์เมื่อช่วง 3-4 เดือนที่ผ่านมาว่า ทางการพม่าไฟเขียวให้ส่งผู้หนีภัยเข้าประเทศพม่าได้แล้ว จากนั้น จ.ตาก ก็ได้มีการสำรวจและลงทะเบียนผู้หนีภัยไว้ ซึ่งสร้างความตื่นตระหนกให้กับคนที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก โดยเฉาะตัวผู้หนีภัยที่ไม่กล้าเปิดเผยตัว เพราะรู้สึกถึงความไม่ปลอดภัย และที่ผ่านพม่ายังเกิดการสู้รบกันอยู่ตลอดเวลา และยังไม่เห็นว่าพม่าได้เตรียมการรองรับผู้หนีภัยหรือการจัดการเอาไว้ “ทางอนุกรรมการสิทธิฯ ได้ทำความเห็นส่งถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นรัฐบาล ทหาร สมช. เพื่อเสนอว่า หลักการส่งผู้หนีภัยกลับเข้าประเทศ จะต้องไม่ผลักตันให้พวกเขาไปสู่สงคราม ที่อาจจะก่อให้พวกเขาเกิดความตาย และหากจะส่งกลับต้องเป็นไปโดยสมัครใจ แต่อย่างไรก็ตามหน่วยงานที่มีสิทธิ์ตัดสินใจส่งผู้หนีภัยหลับประเทศก็ไม่มีท่าที หรือส่งสัญญาณว่าจะให้ส่งผู้หนีภัยกลับประเทศ ตามที่ผู้ว่าฯ จ. ตากให้สัมภาษณ์ไว้” นายสุรพงษ์ กล่าว สถานการณ์ที่เกิดขึ้นบริเวณชายแดนยังไม่สงบจริงตามการคาดการณ์ของสภาทนายความ เนื่องจากสองสามเดือนหลังจากที่ ซอว์ เนอ มู หลบภัยเข้ามาในประเทศไทยเขาได้พยายามกลับไปดูลาดลาวที่บ้านเกิดของตัวเอง แต่แล้วซอว์ เนอ มู ต้องพบกับเหตุการณ์ที่เลวร้ายที่สุดในชีวิตคือ ทหารพม่าบังคับให้คนในหมู่บ้านขับรถแทรกเตอร์อีแต๋นไปส่งกำลังพลและยุทธภัณฑ์ต่างๆ โดยจ่ายเงินจำนวนน้อยนิดแทบไม่พอค่าน้ำมัน “พวกเราขับรถอยู่สองวันสองคืนในป่าท่ามกลางสายฝน โดยไม่ได้หยุดพักแม้แต่จะกินข้าว” ซอว์ เนอ มู เล่าความในใจ และหลังเสร็จสิ้นภารกิจสุดโหด เขารีบรุดเดินข้ามชายแดนเข้ามาประเทศไทยอีกครั้ง พร้อมกับกล่าวว่า “ชาวบ้านฝั่งโน้นอยู่กันไมได้หรอก เพราะโดนบังคับให้ใช้แรงงานกัน ผมก็อยากกลับบ้านนะ แต่ให้สถานการณ์มันดีขึ้นกว่านี้ก่อน ตอนนี้ยังน่ากลัวอยู่ จึงไม่กล้ากลับไป” จากปัญหาและการหลบร้อนมาพึ่งเย็นที่เกิดขึ้นนั้น นายสุรพงษ์ สะท้อนว่า การแก้ไขปัญหาโดยการส่งกลับประเทศต้นทางเป็นเรื่องที่จัดการยากลำบาก เดิมทีทุกคนที่เป็นผู้ลี้ภัยต้องการกลับประเทศกันหมด แต่เนื่องจากเหตุการณ์สู้รบบานปลายออกไป 2 ปี บ้าง 3 ปีบ้าง จนล่าสุดยืดออกไปเป็น 20 -30 ปี หากพวกเขาจะกลับไปก็ไม่ทราบว่าบ้านที่เขาเคยอยู่อาจจะมีคนอื่นเข้าไปจับจองแล้ว ส่งผลให้ไม่มีที่ทำกินตามไปด้วย เท่ากับไม่มีอะไรเหลือไว้สำหรับพวกเขา ดังนั้นการแก้ปัญหาของรัฐบาลชุดใหม่ ทำได้โดยผลักดันให้ไปอยู่ประเทศที่สาม รวมถึงเข้าไปสนับสนุนให้ประเทศพม่าและชนกลุ่มน้อยยุติการสู้รบ จนก่อให้เกิดความสันติถือเป็นส่งที่รัฐบาลไทยควรทำที่สุด เพราะปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ได้เกิดขึ้นเพียงภายในประเทศพม่าเท่านั้น แต่ยังส่งผลถึงประเทศไทยด้วย ที่ต้องให้การช่วยเหลือและดูแลผู้หนีภัยสงครามเพราะคือหลักมนุษยธรรมเบื้องต้น นอกจากนี้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ลี้ภัยทั่วโลกพบว่า มีคนมากว่า 43 ล้านคนในโลกที่ถูกบังคับให้ย้ายถิ่นที่อยู่ มากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา มากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ เป็นผู้หญิงและเด็ก มากกว่า 40 เปอร์เซ็นต์อายุน้อยกว่า 18 ปี และในจำนวนประชากรโลก 158 คนจะมีผู้ลี้ภัย 1 คน ขณะประเทศต้นทางของผู้ลี้ภัย 5 อันดับแรกของโลกคืออัฟกานิสถาน 3 ล้านคน อิรัก 1.7 ล้านคน โซมาเลีย 7 แสนคน คองโก 4.7 แสนคน และพม่า 4 แสนคน ขณะที่การขับเคลื่อนล่าสุดเกี่ยวกับสถานการณ์ผู้ลี้ภัยในประเทศไทย ทางฮิวแมนไรท์วอซประจำประเทศไทย ได้เข้ายื่นวาระด้านสิทธิมนุษยชนสำหรับรัฐบาล ต่อนายกรัฐมนตรี ในประเด็น การคุ้มครองสิทธิของผู้ลี้ภัยและการป้องกันไม่ให้มีการบังคับส่งกลับผู้ลี้ภัย โดยนายสุนัย ผาสุก ที่ปรึกษาองค์กรฮิวแมนไรท์วอซประจำประเทศไทย ให้ข้อมูลว่า ปัจจุบันตัวเลขผู้หนีภัยที่เข้ามาในประเทศไทยมีจำนวนที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปัจจุบันมีมากกว่า 150,000 คน แบ่งออกเป็นผู้ลี้ภัยสงครามการสู้รบจากประเทศพม่า ผู้พลัดถิ่นจากประเทศอื่นๆ โดยช่วงก่อนหน้านี้ผู้หนีภัยส่วนใหญ่จะเข้ามาอยู่ในประเทศในรูปแบบที่อยู่ยาวนาน แต่ช่วงหลังนี้ผู้หนีภัยที่เป็นชนกลุ่มน้อย ที่มีการสู้รบกับทหารพม่า จะเข้ามาประพักพิงแบบชั่วคราว หลังเหตุการณ์สงบเขาจะเดินทางไปกลับ ซึ่งจะเป็นแบบไปๆ กลับๆ อาจจะเนื่องจากคนกลุ่มนี้เขามีบ้านและทรัพย์สินที่ต้องดูแล อย่างไรก็ตามในเรื่องของระบบจัดการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับผู้หนีภัยของรัฐไทยที่ผ่านมานั้น นายสุนัย พบจุดอ่อนของรัฐไทยว่า เมื่อได้รับสัญญาณจากฝั่งทางพม่าว่า การสู้รบเข้าสู่สภาวะปกติแล้วทางรัฐไทยก็จะส่งผู้หนีภัยกลับไปประเทศต้นทางทันที โดยไม่มีการกลั่นกรองตรวจสอบลักษณะของผู้หนีภัย จากเจ้าหน้าที่จากสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ สำนักงานภูมิภาคประจำประเทศไทย (UNHCR) ทำให้เกิดข้อครหาว่ารัฐไทยไม่ได้ปฏิบัติตามอาจไม่กฎกติกาสากลในการส่งกลับผู้ลี้ภัยดังกล่าว ตามหลักการสากลแล้ว UNHCR จะต้องประเมินก่อนว่ารัฐไทยมีเหตุผลเพียงพอที่จะส่งพวกเขากลับประเทศต้นทางหรือไม่ สถานการณ์การสู่รบเกิดความสงบจริงหรือไม่ และหากส่งกลับไปแล้วพวกเขาจะถูกกดขี่ หรือถูกริดรอนสิทธิจากทหารพม่าหรือไม่ ทั้งนี้UNHCR กับหน่วยงานของไทยได้เคยพยายามวางกรอบการทำงานร่วมกัน แต่กลับชะงักงันไปในช่วงรัฐบาลทักษิณ นอกจาก ความไม่ชัดเจนของนโยบายการจัดการกับผู้ลี้ภัยอย่างเป็นระบบยังส่งผลให้การทำงานของคณะกรรมการระดับจังหวัดในการพิจารณาอนุญาตให้ผู้ลี้ภัยการสู้รบจากพม่าเข้าไปอาศัยอยู่ในพื้นที่พักพิงชั่วคราวสำหรับผู้หนีภัยจากการสู้รบพม่า ซึ่งเป็นกลไกที่ใช้ในการจัดการให้ความช่วยเหลือ หรือรับรองสถานการณ์เป็นผู้หนีภัยความตายของรัฐบาลไทย โดยมีคณะกรรมการระดับจังหวัด (Provincial Admission Board-PAB) ได้แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด ฝ่ายทหาร ฝ่ายตำรวจ และ UNHCR มีการทำงานที่ไม่สม่ำเสมอ และไม่มีความเข้มแข็งในการคัดกรอง ผู้หนีภัยได้หนีจากการสู้รบในประเทศพม่าจริง หรือมีเหตุผลทางการเมือง ทำให้กลับประเทศสหภาพพม่าไม่ได้ เหตุการณ์ที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนถึงความไม่ใส่ใจในการจัดการผู้ลี้ภัยของรัฐบาลไทย คือ การเกิดเหตุปะทะกันระหว่างกองกำลังกะเหรี่ยงพุทธกับกองทัพรัฐบาลที่ อ. เมียวดี ในเดือนพฤศจิกายน 2553 ส่งผลให้ผู้หนีภัยสู้รบกว่าสองหมื่นคนหนีตายมายังฝั่งไทย อ.แม่สอด อ.พบพระ และด่านเจดีย์สามองค์ หากแต่เป็นกลุ่มที่ฝ่ายความมั่นคงภายใต้การดูแลของรัฐบาลไทยชุดนายอภิสิทธิ์ไม่นับว่าเป็นผู้ลี้ภัยและไม่มีการดำเนินการให้สถานะใดๆ แต่ให้ผู้หนีภัยสู้รบพักอาศัยอยู่ชั่วคราวก่อนที่จะมีการผลักดันกลับอย่างไม่มีความปลอดภัยที่แน่ชัด และเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม รัฐบาลไทยได้ละเมิดหลักการคุ้มครองผู้ลี้ภัย อย่างรุนแรง ด้วยการส่งกลับผู้แสวงหาที่ลี้ภัยที่ได้รับผลจากการสู้รบ 166 คน แม้จะได้รับการทักท้วงถึงความไม่ปลอดภัยก็ตาม หลังเปลี่ยนผ่านรัฐบาลการทำงานด้านความมั่นคงอาจเปลี่ยนไป โดยที่ปรึกษาองค์กรฮิวแมนไรท์วอซ ได้ให้ความเห็นถึงบทบาทการทำงานของรัฐบาลชุดใหม่ ที่มอบหมายให้พล.ต.อ. โกวิท วัฒนะ รองนายกรัฐมนตรี ที่รับผิดชอบงานด้านความมั่นคง รวมถึงตัวรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศที่เข้ามาทำงานเกี่ยวกับเรื่องผู้ลี้ภัยโดยตรงว่า ที่ผ่านมาไม่เคยเห็นภาพการทำงานของทั้งสองท่านด้านนี้มาก่อน จึงต้องให้เวลาพิสูจน์การทำงานว่าจะเป็นรูปแบบใด แต่ในส่วนของนโยบายของพรรคเพื่อไทย ที่สอดคล้องกับการช่วยเหลือผู้ลี้ภัยเพียงไม่กี่บรรทัดว่า จะดูแลเรื่องหลักสิทธิมนุษยชนภายในประเทศให้สอดคล้องกับกฎกติกาสากลที่ทั่วโลกปฏิบัติ ซึ่งถือว่าเป็นกรอบที่ดี เนื่องจากสอดคล้องกับกติกาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ ดังนั้นเรื่องเร่งด่วนที่รัฐบาลชุดใหม่ควรทำคือ รื้อระบบงานให้กลไก PAB ที่มีการกลั่นกรองผู้หนีภัย ให้กลับมาทำงานอย่างสม่ำเสมอมีความเข็มแข็ง และให้ UNHCR เข้ามาทำงานประเมินสถานการณ์ก่อนส่งผู้หนีภัยกลับประเทศต้นทาง โดยรัฐบาลไทยเองก็ไม่ได้เสียประโยชน์ เนื่องจากงบประมาณที่ได้เป็นการเรี่ยรายจากประเทศไม่แสวงหาผลกำไร นอกจากนี้รัฐบาลต้องให้ UNHCR เข้ามาจัดระบบผู้หนีภัยที่เข้ามาอยู่ในที่พักพิงให้มีการจดทะเบียนให้เกิดเป็นระบบ ถึงเวลาแล้วที่รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องกลับมารื้อระบบการช่วยเหลือผู้หนีภัย ให้เป็นระบบและกลั่นกรองจากหน่วยงายที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามหลักมนุษยธรรม
วันนี้ (16 ธ.ค.2566) กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศ 7 วันข้างหน้า ระหว่างวันที่ 16 – 22 ธ.ค.2566 โดยใ
รื้อระบบรัฐไทย ทบทวนกลไกดูแลผู้ลี้ภัยให้เป็นระบบ เสียงระเบิดและลูกกระสุนดังขึ้นในหมู่บ้านของซอว์ เนอ
เมื่อวันที่ 22 ธ.ค.2565 เจ้าที่ตำรวจ สน.ท่าข้าม พร้อมกำลังฝ่ายป้องกันปราบปรามและฝ่ายสืบสวน สน.ข้ามแล
รื้อระบบรัฐไทย ทบทวนกลไกดูแลผู้ลี้ภัยให้เป็นระบบ เสียงระเบิดและลูกกระสุนดังขึ้นในหมู่บ้านของซอว์ เนอ มู ลูกแล้วลูกเล่า ขณะที่เขาทำงานอยู่ในทุ่งนา เขารีบวิ่งกระหือกระหอบกลับบ้านหาลูกเมีย เพื่อจะได้พาหนีไปด้วยกัน... รื้อระบบรัฐไทย ทบทวนกลไกดูแลผู้ลี้ภัยให้เป็นระบบ แต่แล้วในบ้านหลังนั้นกลับมีแต่ความว่างเปล่า ไม่มีลูก ไม่มีเมีย ซอว์ เนอ มู ตัดสินใจหนีจากหมู่บ้านมาเพียงลำพังด้วยใจที่เจ็บปวด ในเดือนพฤศจิกายนปีที่แล้ว หลังจากนั้นซอว์ เนอมูได้เดินเท้าจากรัฐกะเหรี่ยงในเขตตะวันออกของประเทศพม่าเข้ามาหลบภัยในประเทศไทย เหตุการณ์ดังกล่าวไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในแถบตะเข็บชายแดนไทย แต่ยืดเยื้อยาวนานมากกกว่า 25 ปีแล้ว แม้ประเทศไทยไม่ได้ให้การรองรับผู้หนีภัยจากการสู้รบจากประเทศพม่าว่าเป็นผู้ลี้ภัย(Refugee) ตามกติการะหว่างประเทศ แต่ก็อนุญาตให้ผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่าอยู่ในพื้นที่พักพิงชั่วคราว 9 แห่ง ใน 4 จังหวัด ได้แก่ ราชบุรี กาญจนบุรี ตาก และแม่ฮ่องสอน นับแต่ปี 2527 เป็นต้นมา จนปัจจุบันมีผู้หนีภัยเข้ามาในประเทศไทยจำนวนมากกว่า 140,000 คนแล้ว ตัวเลขดังกล่าวยังไม่ได้รวมผู้หนีภัยนอกค่าย ซึ่งมีหลายประทศ อาทิ ศรีลังกา ปากีสถาน โซมาเลีย จีน ซึ่งสวนใหญ่หนีภัยสู้รบเข้ามาในไทยและรอการส่งกลับไปประทศที่สาม บางรายไม่มีสาถานะผู้ลี้ภัย จนทำให้มีผู้ลี้ภัยอยู่จำนวนไม่น้อย แต่ยังไม่มีการรวบรวมข้อมูลเป็นตัวเลขไว้ นายสุรพงษ์ กองจันทึก ประธานอนุกรรมการสิทธิมนุษยชนด้านชนชนติ ผู้ไร้สัญชาติ แรงงานข้ามชาติและผู้พลัดถิ่นสภาทนายความ กล่าวว่า สถานการณ์ของที่พักพิงชั่วคราวทั้ง 9 แห่งใน 4 จังหวัด ยังคงมีองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร เข้าไปแลบรรเทาความเดือดร้อนผู้หนีภัย อาทิ เขาไปแจกอาหารแห้ง วัสดุสำหรับที่อยู่อาศัย การศึกษาระดับพื้นฐาน- กลาง บริการสาธารณสุข จัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม เป็นต้น แต่ในช่วงที่ผ่านมาองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร องค์กรระหว่างประเทศเข้ามาช่วยลดน้อยลง เนื่องมาจากผลกระทบของเศรษฐกิจโลก ซึ่งกระทบในเรื่องของการหาอาหารที่มีน้อยอยู่แล้ว ให้น้อยลงไปอีก ซึ่งอาจจะทำให้พวกเขาหลบหนีออกมาหางานทำ จนเกิดปัญหาการแย่งงานกันทำ นายสุรพงษ์ กล่าวต่อว่า นอกจากนี้ในส่วนของการดูแลของรัฐบาลไทย ในพื้นที่ จ.ตาก ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นคือ นายสามารถ ลอยฟ้า ผู้ว่าราชการจังหวัดตาก ได้ให้สัมภาษณ์เมื่อช่วง 3-4 เดือนที่ผ่านมาว่า ทางการพม่าไฟเขียวให้ส่งผู้หนีภัยเข้าประเทศพม่าได้แล้ว จากนั้น จ.ตาก ก็ได้มีการสำรวจและลงทะเบียนผู้หนีภัยไว้ ซึ่งสร้างความตื่นตระหนกให้กับคนที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก โดยเฉาะตัวผู้หนีภัยที่ไม่กล้าเปิดเผยตัว เพราะรู้สึกถึงความไม่ปลอดภัย และที่ผ่านพม่ายังเกิดการสู้รบกันอยู่ตลอดเวลา และยังไม่เห็นว่าพม่าได้เตรียมการรองรับผู้หนีภัยหรือการจัดการเอาไว้ “ทางอนุกรรมการสิทธิฯ ได้ทำความเห็นส่งถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นรัฐบาล ทหาร สมช. เพื่อเสนอว่า หลักการส่งผู้หนีภัยกลับเข้าประเทศ จะต้องไม่ผลักตันให้พวกเขาไปสู่สงคราม ที่อาจจะก่อให้พวกเขาเกิดความตาย และหากจะส่งกลับต้องเป็นไปโดยสมัครใจ แต่อย่างไรก็ตามหน่วยงานที่มีสิทธิ์ตัดสินใจส่งผู้หนีภัยหลับประเทศก็ไม่มีท่าที หรือส่งสัญญาณว่าจะให้ส่งผู้หนีภัยกลับประเทศ ตามที่ผู้ว่าฯ จ. ตากให้สัมภาษณ์ไว้” นายสุรพงษ์ กล่าว สถานการณ์ที่เกิดขึ้นบริเวณชายแดนยังไม่สงบจริงตามการคาดการณ์ของสภาทนายความ เนื่องจากสองสามเดือนหลังจากที่ ซอว์ เนอ มู หลบภัยเข้ามาในประเทศไทยเขาได้พยายามกลับไปดูลาดลาวที่บ้านเกิดของตัวเอง แต่แล้วซอว์ เนอ มู ต้องพบกับเหตุการณ์ที่เลวร้ายที่สุดในชีวิตคือ ทหารพม่าบังคับให้คนในหมู่บ้านขับรถแทรกเตอร์อีแต๋นไปส่งกำลังพลและยุทธภัณฑ์ต่างๆ โดยจ่ายเงินจำนวนน้อยนิดแทบไม่พอค่าน้ำมัน “พวกเราขับรถอยู่สองวันสองคืนในป่าท่ามกลางสายฝน โดยไม่ได้หยุดพักแม้แต่จะกินข้าว” ซอว์ เนอ มู เล่าความในใจ และหลังเสร็จสิ้นภารกิจสุดโหด เขารีบรุดเดินข้ามชายแดนเข้ามาประเทศไทยอีกครั้ง พร้อมกับกล่าวว่า “ชาวบ้านฝั่งโน้นอยู่กันไมได้หรอก เพราะโดนบังคับให้ใช้แรงงานกัน ผมก็อยากกลับบ้านนะ แต่ให้สถานการณ์มันดีขึ้นกว่านี้ก่อน ตอนนี้ยังน่ากลัวอยู่ จึงไม่กล้ากลับไป” จากปัญหาและการหลบร้อนมาพึ่งเย็นที่เกิดขึ้นนั้น นายสุรพงษ์ สะท้อนว่า การแก้ไขปัญหาโดยการส่งกลับประเทศต้นทางเป็นเรื่องที่จัดการยากลำบาก เดิมทีทุกคนที่เป็นผู้ลี้ภัยต้องการกลับประเทศกันหมด แต่เนื่องจากเหตุการณ์สู้รบบานปลายออกไป 2 ปี บ้าง 3 ปีบ้าง จนล่าสุดยืดออกไปเป็น 20 -30 ปี หากพวกเขาจะกลับไปก็ไม่ทราบว่าบ้านที่เขาเคยอยู่อาจจะมีคนอื่นเข้าไปจับจองแล้ว ส่งผลให้ไม่มีที่ทำกินตามไปด้วย เท่ากับไม่มีอะไรเหลือไว้สำหรับพวกเขา ดังนั้นการแก้ปัญหาของรัฐบาลชุดใหม่ ทำได้โดยผลักดันให้ไปอยู่ประเทศที่สาม รวมถึงเข้าไปสนับสนุนให้ประเทศพม่าและชนกลุ่มน้อยยุติการสู้รบ จนก่อให้เกิดความสันติถือเป็นส่งที่รัฐบาลไทยควรทำที่สุด เพราะปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ได้เกิดขึ้นเพียงภายในประเทศพม่าเท่านั้น แต่ยังส่งผลถึงประเทศไทยด้วย ที่ต้องให้การช่วยเหลือและดูแลผู้หนีภัยสงครามเพราะคือหลักมนุษยธรรมเบื้องต้น นอกจากนี้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ลี้ภัยทั่วโลกพบว่า มีคนมากว่า 43 ล้านคนในโลกที่ถูกบังคับให้ย้ายถิ่นที่อยู่ มากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา มากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ เป็นผู้หญิงและเด็ก มากกว่า 40 เปอร์เซ็นต์อายุน้อยกว่า 18 ปี และในจำนวนประชากรโลก 158 คนจะมีผู้ลี้ภัย 1 คน ขณะประเทศต้นทางของผู้ลี้ภัย 5 อันดับแรกของโลกคืออัฟกานิสถาน 3 ล้านคน อิรัก 1.7 ล้านคน โซมาเลีย 7 แสนคน คองโก 4.7 แสนคน และพม่า 4 แสนคน ขณะที่การขับเคลื่อนล่าสุดเกี่ยวกับสถานการณ์ผู้ลี้ภัยในประเทศไทย ทางฮิวแมนไรท์วอซประจำประเทศไทย ได้เข้ายื่นวาระด้านสิทธิมนุษยชนสำหรับรัฐบาล ต่อนายกรัฐมนตรี ในประเด็น การคุ้มครองสิทธิของผู้ลี้ภัยและการป้องกันไม่ให้มีการบังคับส่งกลับผู้ลี้ภัย โดยนายสุนัย ผาสุก ที่ปรึกษาองค์กรฮิวแมนไรท์วอซประจำประเทศไทย ให้ข้อมูลว่า ปัจจุบันตัวเลขผู้หนีภัยที่เข้ามาในประเทศไทยมีจำนวนที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปัจจุบันมีมากกว่า 150,000 คน แบ่งออกเป็นผู้ลี้ภัยสงครามการสู้รบจากประเทศพม่า ผู้พลัดถิ่นจากประเทศอื่นๆ โดยช่วงก่อนหน้านี้ผู้หนีภัยส่วนใหญ่จะเข้ามาอยู่ในประเทศในรูปแบบที่อยู่ยาวนาน แต่ช่วงหลังนี้ผู้หนีภัยที่เป็นชนกลุ่มน้อย ที่มีการสู้รบกับทหารพม่า จะเข้ามาประพักพิงแบบชั่วคราว หลังเหตุการณ์สงบเขาจะเดินทางไปกลับ ซึ่งจะเป็นแบบไปๆ กลับๆ อาจจะเนื่องจากคนกลุ่มนี้เขามีบ้านและทรัพย์สินที่ต้องดูแล อย่างไรก็ตามในเรื่องของระบบจัดการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับผู้หนีภัยของรัฐไทยที่ผ่านมานั้น นายสุนัย พบจุดอ่อนของรัฐไทยว่า เมื่อได้รับสัญญาณจากฝั่งทางพม่าว่า การสู้รบเข้าสู่สภาวะปกติแล้วทางรัฐไทยก็จะส่งผู้หนีภัยกลับไปประเทศต้นทางทันที โดยไม่มีการกลั่นกรองตรวจสอบลักษณะของผู้หนีภัย จากเจ้าหน้าที่จากสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ สำนักงานภูมิภาคประจำประเทศไทย (UNHCR) ทำให้เกิดข้อครหาว่ารัฐไทยไม่ได้ปฏิบัติตามอาจไม่กฎกติกาสากลในการส่งกลับผู้ลี้ภัยดังกล่าว ตามหลักการสากลแล้ว UNHCR จะต้องประเมินก่อนว่ารัฐไทยมีเหตุผลเพียงพอที่จะส่งพวกเขากลับประเทศต้นทางหรือไม่ สถานการณ์การสู่รบเกิดความสงบจริงหรือไม่ และหากส่งกลับไปแล้วพวกเขาจะถูกกดขี่ หรือถูกริดรอนสิทธิจากทหารพม่าหรือไม่ ทั้งนี้UNHCสมัครสมาชิกรับ 68 บาท สล็อตทําเงินqaR กับหน่วยงานของไทยได้เคยพยายามวางกรอบการทำงานร่วมกัน แต่กลับชะงักงันไปในช่วงรัฐบาลทักษิณ นอกจาก ความไม่ชัดเจนของนโยบายการจัดการกับผู้ลี้ภัยอย่างเป็นระบบยังส่งผลให้การทำงานของคณะกรรมการระดับจังหวัดในการพิจารณาอนุญาตให้ผู้ลี้ภัยการสู้รบจากพม่าเข้าไปอาศัยอยู่ในพื้นที่พักพิงชั่วคราวสำหรับผู้หนีภัยจากการสู้รบพม่า ซึ่งเป็นกลไกที่ใช้ในการจัดการให้ความช่วยเหลือ หรือรับรองสถานการณ์เป็นผู้หนีภัยความตายของรัฐบาลไทย โดยมีคณะกรรมการระดับจังหวัด (Provincial Admission Board-PAB) ได้แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด ฝ่ายทหาร ฝ่ายตำรวจ และ UNHCR มีการทำงานที่ไม่สม่ำเสมอ และไม่มีความเข้มแข็งในการคัดกรอง ผู้หนีภัยได้หนีจากการสู้รบในประเทศพม่าจริง หรือมีเหตุผลทางการเมือง ทำให้กลับประเทศสหภาพพม่าไม่ได้ เหตุการณ์ที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนถึงความไม่ใส่ใจในการจัดการผู้ลี้ภัยของรัฐบาลไทย คือ การเกิดเหตุปะทะกันระหว่างกองกำลังกะเหรี่ยงพุทธกับกองทัพรัฐบาลที่ อ. เมียวดี ในเดือนพฤศจิกายน 2553 ส่งผลให้ผู้หนีภัยสู้รบกว่าสองหมื่นคนหนีตายมายังฝั่งไทย อ.แม่สอด อ.พบพระ และด่านเจดีย์สามองค์ หากแต่เป็นกลุ่มที่ฝ่ายความมั่นคงภายใต้การดูแลของรัฐบาลไทยชุดนายอภิสิทธิ์ไม่นับว่าเป็นผู้ลี้ภัยและไม่มีการดำเนินการให้สถานะใดๆ แต่ให้ผู้หนีภัยสู้รบพักอาศัยอยู่ชั่วคราวก่อนที่จะมีการผลักดันกลับอย่างไม่มีความปลอดภัยที่แน่ชัด และเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม รัฐบาลไทยได้ละเมิดหลักการคุ้มครองผู้ลี้ภัย อย่างรุนแรง ด้วยการส่งกลับผู้แสวงหาที่ลี้ภัยที่ได้รับผลจากการสู้รบ 166 คน แม้จะได้รับการทักท้วงถึงความไม่ปลอดภัยก็ตาม หลังเปลี่ยนผ่านรัฐบาลการทำงานด้านความมั่นคงอาจเปลี่ยนไป โดยที่ปรึกษาองค์กรฮิวแมนไรท์วอซ ได้ให้ความเห็นถึงบทบาทการทำงานของรัฐบาลชุดใหม่ ที่มอบหมายให้พล.ต.อ. โกวิท วัฒนะ รองนายกรัฐมนตรี ที่รับผิดชอบงานด้านความมั่นคง รวมถึงตัวรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศที่เข้ามาทำงานเกี่ยวกับเรื่องผู้ลี้ภัยโดยตรงว่า ที่ผ่านมาไม่เคยเห็นภาพการทำงานของทั้งสองท่านด้านนี้มาก่อน จึงต้องให้เวลาพิสูจน์การทำงานว่าจะเป็นรูปแบบใด แต่ในส่วนของนโยบายของพรรคเพื่อไทย ที่สอดคล้องกับการช่วยเหลือผู้ลี้ภัยเพียงไม่กี่บรรทัดว่า จะดูแลเรื่องหลักสิทธิมนุษยชนภายในประเทศให้สอดคล้องกับกฎกติกาสากลที่ทั่วโลกปฏิบัติ ซึ่งถือว่าเป็นกรอบที่ดี เนื่องจากสอดคล้องกับกติกาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ ดังนั้นเรื่องเร่งด่วนที่รัฐบาลชุดใหม่ควรทำคือ รื้อระบบงานให้กลไก PAB ที่มีการกลั่นกรองผู้หนีภัย ให้กลับมาทำงานอย่างสม่ำเสมอมีความเข็มแข็ง และให้ UNHCR เข้ามาทำงานประเมินสถานการณ์ก่อนส่งผู้หนีภัยกลับประเทศต้นทาง โดยรัฐบาลไทยเองก็ไม่ได้เสียประโยชน์ เนื่องจากงบประมาณที่ได้เป็นการเรี่ยรายจากประเทศไม่แสวงหาผลกำไร นอกจากนี้รัฐบาลต้องให้ UNHCR เข้ามาจัดระบบผู้หนีภัยที่เข้ามาอยู่ในที่พักพิงให้มีการจดทะเบียนให้เกิดเป็นระบบ ถึงเวลาแล้วที่รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องกลับมารื้อระบบการช่วยเหลือผู้หนีภัย ให้เป็นระบบและกลั่นกรองจากหน่วยงายที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามหลักมนุษยธรรม แต่แล้วในบ้านหลังนั้นกลับมีแต่ความว่างเปล่า ไม่มีลูก ไม่มีเมีย ซอว์ เนอ มู ตัดสินใจหนีจากหมู่บ้านมาเพียงลำพังด้วยใจที่เจ็บปวด ในเดือนพฤศจิกายนปีที่แล้ว หลังจากนั้นซอว์ เนอมูได้เดินเท้าจากรัฐกะเหรี่ยงในเขตตะวันออกของประเทศพม่าเข้ามาหลบภัยในประเทศไทย เหตุการณ์ดังกล่าวไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในแถบตะเข็บชายแดนไทย แต่ยืดเยื้อยาวนานมากกกว่า 25 ปีแล้ว แม้ประเทศไทยไม่ได้ให้การรองรับผู้หนีภัยจากการสู้รบจากประเทศพม่าว่าเป็นผู้ลี้ภัย(Refugee) ตามกติการะหว่างประเทศ แต่ก็อนุญาตให้ผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่าอยู่ในพื้นที่พักพิงชั่วคราว 9 แห่ง ใน 4 จังหวัด ได้แก่ ราชบุรี กาญจนบุรี ตาก และแม่ฮ่องสอน นับแต่ปี 2527 เป็นต้นมา จนปัจจุบันมีผู้หนีภัยเข้ามาในประเทศไทยจำนวนมากกว่า 140,000 คนแล้ว ตัวเลขดังกล่าวยังไม่ได้รวมผู้หนีภัยนอกค่าย ซึ่งมีหลายประทศ อาทิ ศรีลังกา ปากีสถาน โซมาเลีย จีน ซึ่งสวนใหญ่หนีภัยสู้รบเข้ามาในไทยและรอการส่งกลับไปประทศที่สาม บางรายไม่มีสาถานะผู้ลี้ภัย จนทำให้มีผู้ลี้ภัยอยู่จำนวนไม่น้อย แต่ยังไม่มีการรวบรวมข้อมูลเป็นตัวเลขไว้ นายสุรพงษ์ กองจันทึก ประธานอนุกรรมการสิทธิมนุษยชนด้านชนชนติ ผู้ไร้สัญชาติ แรงงานข้ามชาติและผู้พลัดถิ่นสภาทนายความ กล่าวว่า สถานการณ์ของที่พักพิงชั่วคราวทั้ง 9 แห่งใน 4 จังหวัด ยังคงมีองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร เข้าไปแลบรรเทาความเดือดร้อนผู้หนีภัย อาทิ เขาไปแจกอาหารแห้ง วัสดุสำหรับที่อยู่อาศัย การศึกษาระดับพื้นฐาน- กลาง บริการสาธารณสุข จัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม เป็นต้น แต่ในช่วงที่ผ่านมาองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร องค์กรระหว่างประเทศเข้ามาช่วยลดน้อยลง เนื่องมาจากผลกระทบของเศรษฐกิจโลก ซึ่งกระทบในเรื่องของการหาอาหารที่มีน้อยอยู่แล้ว ให้น้อยลงไปอีก ซึ่งอาจจะทำให้พวกเขาหลบหนีออกมาหางานทำ จนเกิดปัญหาการแย่งงานกันทำ นายสุรพงษ์ กล่าวต่อว่า นอกจากนี้ในส่วนของการดูแลของรัฐบาลไทย ในพื้นที่ จ.ตาก ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นคือ นายสามารถ ลอยฟ้า ผู้ว่าราชการจังหวัดตาก ได้ให้สัมภาษณ์เมื่อช่วง 3-4 เดือนที่ผ่านมาว่า ทางการพม่าไฟเขียวให้ส่งผู้หนีภัยเข้าประเทศพม่าได้แล้ว จากนั้น จ.ตาก ก็ได้มีการสำรวจและลงทะเบียนผู้หนีภัยไว้ ซึ่งสร้างความตื่นตระหนกให้กับคนที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก โดยเฉาะตัวผู้หนีภัยที่ไม่กล้าเปิดเผยตัว เพราะรู้สึกถึงความไม่ปลอดภัย และที่ผ่านพม่ายังเกิดการสู้รบกันอยู่ตลอดเวลา และยังไม่เห็นว่าพม่าได้เตรียมการรองรับผู้หนีภัยหรือการจัดการเอาไว้ “ทางอนุกรรมการสิทธิฯ ได้ทำความเห็นส่งถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นรัฐบาล ทหาร สมช. เพื่อเสนอว่า หลักการส่งผู้หนีภัยกลับเข้าประเทศ จะต้องไม่ผลักตันให้พวกเขาไปสู่สงคราม ที่อาจจะก่อให้พวกเขาเกิดความตาย และหากจะส่งกลับต้องเป็นไปโดยสมัครใจ แต่อย่างไรก็ตามหน่วยงานที่มีสิทธิ์ตัดสินใจส่งผู้หนีภัยหลับประเทศก็ไม่มีท่าที หรือส่งสัญญาณว่าจะให้ส่งผู้หนีภัยกลับประเทศ ตามที่ผู้ว่าฯ จ. ตากให้สัมภาษณ์ไว้” นายสุรพงษ์ กล่าว สถานการณ์ที่เกิดขึ้นบริเวณชายแดนยังไม่สงบจริงตามการคาดการณ์ของสภาทนายความ เนื่องจากสองสามเดือนหลังจากที่ ซอว์ เนอ มู หลบภัยเข้ามาในประเทศไทยเขาได้พยายามกลับไปดูลาดลาวที่บ้านเกิดของตัวเอง แต่แล้วซอว์ เนอ มู ต้องพบกับเหตุการณ์ที่เลวร้ายที่สุดในชีวิตคือ ทหารพม่าบังคับให้คนในหมู่บ้านขับรถแทรกเตอร์อีแต๋นไปส่งกำลังพลและยุทธภัณฑ์ต่างๆ โดยจ่ายเงินจำนวนน้อยนิดแทบไม่พอค่าน้ำมัน “พวกเราขับรถอยู่สองวันสองคืนในป่าท่ามกลางสายฝน โดยไม่ได้หยุดพักแม้แต่จะกินข้าว” ซอว์ เนอ มู เล่าความในใจ และหลังเสร็จสิ้นภารกิจสุดโหด เขารีบรุดเดินข้ามชายแดนเข้ามาประเทศไทยอีกครั้ง พร้อมกับกล่าวว่า “ชาวบ้านฝั่งโน้นอยู่กันไมได้หรอก เพราะโดนบังคับให้ใช้แรงงานกัน ผมก็อยากกลับบ้านนะ แต่ให้สถานการณ์มันดีขึ้นกว่านี้ก่อน ตอนนี้ยังน่ากลัวอยู่ จึงไม่กล้ากลับไป” จากปัญหาและการหลบร้อนมาพึ่งเย็นที่เกิดขึ้นนั้น นายสุรพงษ์ สะท้อนว่า การแก้ไขปัญหาโดยการส่งกลับประเทศต้นทางเป็นเรื่องที่จัดการยากลำบาก เดิมทีทุกคนที่เป็นผู้ลี้ภัยต้องการกลับประเทศกันหมด แต่เนื่องจากเหตุการณ์สู้รบบานปลายออกไป 2 ปี บ้าง 3 ปีบ้าง จนล่าสุดยืดออกไปเป็น 20 -30 ปี หากพวกเขาจะกลับไปก็ไม่ทราบว่าบ้านที่เขาเคยอยู่อาจจะมีคนอื่นเข้าไปจับจองแล้ว ส่งผลให้ไม่มีที่ทำกินตามไปด้วย เท่ากับไม่มีอะไรเหลือไว้สำหรับพวกเขา ดังนั้นการแก้ปัญหาของรัฐบาลชุดใหม่ ทำได้โดยผลักดันให้ไปอยู่ประเทศที่สาม รวมถึงเข้าไปสนับสนุนให้ประเทศพม่าและชนกลุ่มน้อยยุติการสู้รบ จนก่อให้เกิดความสันติถือเป็นส่งที่รัฐบาลไทยควรทำที่สุด เพราะปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ได้เกิดขึ้นเพียงภายในประเทศพม่าเท่านั้น แต่ยังส่งผลถึงประเทศไทยด้วย ที่ต้องให้การช่วยเหลือและดูแลผู้หนีภัยสงครามเพราะคือหลักมนุษยธรรมเบื้องต้น นอกจากนี้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ลี้ภัยทั่วโลกพบว่า มีคนมากว่า 43 ล้านคนในโลกที่ถูกบังคับให้ย้ายถิ่นที่อยู่ มากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา มากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ เป็นผู้หญิงและเด็ก มากกว่า 40 เปอร์เซ็นต์อายุน้อยกว่า 18 ปี และในจำนวนประชากรโลก 158 คนจะมีผู้ลี้ภัย 1 คน ขณะประเทศต้นทางของผู้ลี้ภัย 5 อันดับแรกของโลกคืออัฟกานิสถาน 3 ล้านคน อิรัก 1.7 ล้านคน โซมาเลีย 7 แสนคน คองโก 4.7 แสนคน และพม่า 4 แสนคน ขณะที่การขับเคลื่อนล่าสุดเกี่ยวกับสถานการณ์ผู้ลี้ภัยในประเทศไทย ทางฮิวแมนไรท์วอซประจำประเทศไทย ได้เข้ายื่นวาระด้านสิทธิมนุษยชนสำหรับรัฐบาล ต่อนายกรัฐมนตรี ในประเด็น การคุ้มครองสิทธิของผู้ลี้ภัยและการป้องกันไม่ให้มีการบังคับส่งกลับผู้ลี้ภัย โดยนายสุนัย ผาสุก ที่ปรึกษาองค์กรฮิวแมนไรท์วอซประจำประเทศไทย ให้ข้อมูลว่า ปัจจุบันตัวเลขผู้หนีภัยที่เข้ามาในประเทศไทยมีจำนวนที่เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปัจจุบันมีมากกว่า 150,000 คน แบ่งออกเป็นผู้ลี้ภัยสงครามการสู้รบจากประเทศพม่า ผู้พลัดถิ่นจากประเทศอื่นๆ โดยช่วงก่อนหน้านี้ผู้หนีภัยส่วนใหญ่จะเข้ามาอยู่ในประเทศในรูปแบบที่อยู่ยาวนาน แต่ช่วงหลังนี้ผู้หนีภัยที่เป็นชนกลุ่มน้อย ที่มีการสู้รบกับทหารพม่า จะเข้ามาประพักพิงแบบชั่วคราว หลังเหตุการณ์สงบเขาจะเดินทางไปกลับ ซึ่งจะเป็นแบบไปๆ กลับๆ อาจจะเนื่องจากคนกลุ่มนี้เขามีบ้านและทรัพย์สินที่ต้องดูแล อย่างไรก็ตามในเรื่องของระบบจัดการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับผู้หนีภัยของรัฐไทยที่ผ่านมานั้น นายสุนัย พบจุดอ่อนของรัฐไทยว่า เมื่อได้รับสัญญาณจากฝั่งทางพม่าว่า การสู้รบเข้าสู่สภาวะปกติแล้วทางรัฐไทยก็จะส่งผู้หนีภัยกลับไปประเทศต้นทางทันที โดยไม่มีการกลั่นกรองตรวจสอบลักษณะของผู้หนีภัย จากเจ้าหน้าที่จากสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ สำนักงานภูมิภาคประจำประเทศไทย (UNHCR) ทำให้เกิดข้อครหาว่ารัฐไทยไม่ได้ปฏิบัติตามอาจไม่กฎกติกาสากลในการส่งกลับผู้ลี้ภัยดังกล่าว ตามหลักการสากลแล้ว UNHCR จะต้องประเมินก่อนว่ารัฐไทยมีเหตุผลเพียงพอที่จะส่งพวกเขากลับประเทศต้นทางหรือไม่ สถานการณ์การสู่รบเกิดความสงบจริงหรือไม่ และหากส่งกลับไปแล้วพวกเขาจะถูกกดขี่ หรือถูกริดรอนสิทธิจากทหารพม่าหรือไม่ ทั้งนี้UNHCR กับหน่วยงานของไทยได้เคยพยายามวางกรอบการทำงานร่วมกัน แต่กลับชะงักงันไปในช่วงรัฐบาลทักษิณ นอกจาก ความไม่ชัดเจนของนโยบายการจัดการกับผู้ลี้ภัยอย่างเป็นระบบยังส่งผลให้การทำงานของคณะกรรมการระดับจังหวัดในการพิจารณาอนุญาตให้ผู้ลี้ภัยการสู้รบจากพม่าเข้าไปอาศัยอยู่ในพื้นที่พักพิงชั่วคราวสำหรับผู้หนีภัยจากการสู้รบพม่า ซึ่งเป็นกลไกที่ใช้ในการจัดการให้ความช่วยเหลือ หรือรับรองสถานการณ์เป็นผู้หนีภัยความตายของรัฐบาลไทย โดยมีคณะกรรมการระดับจังหวัด (Provincial Admission Board-PAB) ได้แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด ฝ่ายทหาร ฝ่ายตำรวจ และ UNHCR มีการทำงานที่ไม่สม่ำเสมอ และไม่มีความเข้มแข็งในการคัดกรอง ผู้หนีภัยได้หนีจากการสู้รบในประเทศพม่าจริง หรือมีเหตุผลทางการเมือง ทำให้กลับประเทศสหภาพพม่าไม่ได้ เหตุการณ์ที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนถึงความไม่ใส่ใจในการจัดการผู้ลี้ภัยของรัฐบาลไทย คือ การเกิดเหตุปะทะกันระหว่างกองกำลังกะเหรี่ยงพุทธกับกองทัพรัฐบาลที่ อ. เมียวดี ในเดือนพฤศจิกายน 2553 ส่งผลให้ผู้หนีภัยสู้รบกว่าสองหมื่นคนหนีตายมายังฝั่งไทย อ.แม่สอด อ.พบพระ และด่านเจดีย์สามองค์ หากแต่เป็นกลุ่มที่ฝ่ายความมั่นคงภายใต้การดูแลของรัฐบาลไทยชุดนายอภิสิทธิ์ไม่นับว่าเป็นผู้ลี้ภัยและไม่มีการดำเนินการให้สถานะใดๆ แต่ให้ผู้หนีภัยสู้รบพักอาศัยอยู่ชั่วคราวก่อนที่จะมีการผลักดันกลับอย่างไม่มีความปลอดภัยที่แน่ชัด และเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม รัฐบาลไทยได้ละเมิดหลักการคุ้มครองผู้ลี้ภัย อย่างรุนแรง ด้วยการส่งกลับผู้แสวงหาที่ลี้ภัยที่ได้รับผลจากการสู้รบ 166 คน แม้จะได้รับการทักท้วงถึงความไม่ปลอดภัยก็ตาม หลังเปลี่ยนผ่านรัฐบาลการทำงานด้านความมั่นคงอาจเปลี่ยนไป โดยที่ปรึกษาองค์กรฮิวแมนไรท์วอซ ได้ให้ความเห็นถึงบทบาทการทำงานของรัฐบาลชุดใหม่ ที่มอบหมายให้พล.ต.อ. โกวิท วัฒนะ รองนายกรัฐมนตรี ที่รับผิดชอบงานด้านความมั่นคง รวมถึงตัวรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศที่เข้ามาทำงานเกี่ยวกับเรื่องผู้ลี้ภัยโดยตรงว่า ที่ผ่านมาไม่เคยเห็นภาพการทำงานของทั้งสองท่านด้านนี้มาก่อน จึงต้องให้เวลาพิสูจน์การทำงานว่าจะเป็นรูปแบบใด แต่ในส่วนของนโยบายของพรรคเพื่อไทย ที่สอดคล้องกับการช่วยเหลือผู้ลี้ภัยเพียงไม่กี่บรรทัดว่า จะดูแลเรื่องหลักสิทธิมนุษยชนภายในประเทศให้สอดคล้องกับกฎกติกาสากลที่ทั่วโลกปฏิบัติ ซึ่งถือว่าเป็นกรอบที่ดี เนื่องจากสอดคล้องกับกติกาสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ ดังนั้นเรื่องเร่งด่วนที่รัฐบาลชุดใหม่ควรทำคือ รื้อระบบงานให้กลไก PAB ที่มีการกลั่นกรองผู้หนีภัย ให้กลับมาทำงานอย่างสม่ำเสมอมีความเข็มแข็ง และให้ UNHCR เข้ามาทำงานประเมินสถานการณ์ก่อนส่งผู้หนีภัยกลับประเทศต้นทาง โดยรัฐบาลไทยเองก็ไม่ได้เสียประโยชน์ เนื่องจากงบประมาณที่ได้เป็นการเรี่ยรายจากประเทศไม่แสวงหาผลกำไร นอกจากนี้รัฐบาลต้องให้ UNHCR เข้ามาจัดระบบผู้หนีภัยที่เข้ามาอยู่ในที่พักพิงให้มีการจดทะเบียนให้เกิดเป็นระบบ ถึงเวลาแล้วที่รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องกลับมารื้อระบบการช่วยเหลือผู้หนีภัย ให้เป็นระบบและกลั่นกรองจากหน่วยงายที่เกี่ยวข้อง ให้เป็นไปตามหลักมนุษยธรรม
วันนี้ (16 ธ.ค.2566) กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์อากาศ 7 วันข้างหน้า ระหว่างวันที่ 16 – 22 ธ.ค.2566 โดยใ
สิ่งอำนวยความสะดวก
การตกแต่ง
เครื่องปรับอากาศ
ชั้นบน
เตาอบ/ไมโครเวฟ
ความสะดวกโดยรอบ
กล้องวงจรปิด
เครืองปรับอากาศ
โถงรอลิฟท์ร้านอาหาร
ทางเข้าหลัก
ยอดสินเชื่อโดยประมาณ
รายละเอียดสินเชื่อ
ยอดสินเชื่อที่ต้องชำระต่อเดือนโดยประมาณ
฿ 0 / เดือน
฿ 0 เงินต้น
฿ 0 ดอกเบี้ย
ค่าใช้จ่ายที่อาจต้องมีเบื้องต้น
เงินดาวน์ทั้งหมด
฿ 0
เงินดาวน์
จำนวนสินเชื่อ ฿ 0 ในอัตรา 0% ของสินเชื่อต่อราคาบ้าน (Loan-to-value)
เมืองโม่เหอ ได้ฉายาว่าเป็นขั้วโลกในจีนอยู่แล้ว ด้ว

วันนี้ (2 มี.ค.2568) ที่พักในรูปแบบโฮมสเตย์ บน ถ.สามล้าน อ.เมือง จ.เชียงใหม่ เป็นหนึ่งในสถานประกอบการที่พักขนาดเล็กเปิดบริการนักท่องเที่ยวมาหลายปี โดยที่ผ่านมาเข้าร่วมขายห้องพักในแพลตฟอร์ม Airbnb แต่ผ
ดูรายละเอียดโครงการคำถามที่พบบ่อย
วันนี้ ( 24 มี.ค. 2568) เว็บไซต์ “ฮั่วเซ่งเฮง” วิเคราะห์ ภาพรวมความเคลื่อนไหวที่ผ่านมา สัปดาห์ก่อนรา
วันนี้ (12 มิ.ย.2566) พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ นำทีมพนักงานสอบสวนเข้าแจ้งข
วันนี้ (19 พ.ค.2564) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ รายงานสถานการณ์ COVID-19 จ.สมุทรปราการ (ข้อ
วันนี้ (10 ก.ย.2564) รศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เฟซ บุ๊ก Thira W
ความคืบหน้าการตรวจสอบการบุกรุกป่าสงวนแห่งชาติเพื่อทำสวนทุเรียนในพื้นที่ จ.ฉะเชิงเทรา ล่าสุด วันนี้ (
ค้นหาประกาศอื่นรอบๆ ทุ่งพญาไท
จากสิ่งที่คุณค้นหา คุณอาจจะสนใจตัวเลือกต่อไปนี้
เครดิต ฟรี ฝาก 20 รับ 100pgauto789
maxbet login pc