เมื่อวันที่ 3 มี.ค.2564 น.ส.กุลยา ตันติเตมิท ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการ

วันนี้ (1 มี.ค.2566) นพ.ชลน่าน ศรีแก้ว หัวหน้าพรรคเพื่อไทย แถลงแต่งตั้งนายเศรษฐา ทวีสิน เป็นประธานที่ปรึกษาหัวหน้าครอบครัวเพื่อไทย หลังจากมี "โครงการครอบครัวเพื่อไทย บ้านหลังใหญ่ หัวใจเดิม" โดยมีอำนาจ

ย้อนกลับไปเมื่อปี 2564 มีการรัฐประหารรัฐบาลของ ปธน.โอมาร์ อัล-บาชีร์ เกิดขึ้น เนื่องจากการปกครองรูปแบบเผด็จการที่ยาวนานร่วม 3 ทศวรรษ โดยประชาชนประท้วงขับไล่ตามท้องถนน และกองกำลังทหารของ 2 นายพล พล.อ.อับเดล ฟัตตาห์ อัล–บูร์ฮัน ผู้บัญชาการกองทัพซูดาน (ทหารล้วน) และ พล.อ.โมฮาเหม็ด ฮัมดัน ดากาโล ผู้บัญชาการกองกำลัง RSF หรือ Rapid Support Forces (RSF) (ทหารและพลเรือน) วิเคราะห์ : วัดพลัง "ตัวกลาง" ยุติความขัดแย้ง 2 ฝ่ายในซูดาน หลังจากที่เข้ายึดอำนาจเบ็ดเสร็จ พล.อ.อัล-บูร์ฮัน เข้ารับตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งซูดาน ขณะที่ พล.อ.ดากาโล รับตำแหน่งรองประธานาธิบดี แม้ผู้คนเรียกร้องให้มีการปกครองโดยพลเรือน และกองทัพจำยอมที่จะเปิดแผนเจรจาเพื่อเปลี่ยนแปลงสู่การเป็นรัฐบาลตามระบอบประชาธิปไตย แต่สุดท้าย รัฐบาลผสมของทหารและพลเรือน ก็ถูกโค่นล้มโดยการรัฐประหารอีกครั้งในเดือน ต.ค.2564 แม้เป้าหมายของ พล.อ.อัล-บูร์ฮัน และ พล.อ.ดากาโล จะเหมือนกันคือการโค่นล้มรัฐบาลของ อัล-บาชีร์ แต่แนวคิดในการบริหารของแต่ละคนนั้นต่างกันโดยสิ้นเชิง โดยเฉพาะควผล สลากกินแบ่ง รัฐบาล 1 ก ย 2563ามต้องการที่จะนำกองกำลัง RSF เข้าเป็นส่วนหนึ่งของกองทัพซูดาน รวมถึงการแต่งตั้งผู้นำเหล่าทัพใหม่ ของ พล.อ.ดากาโล หลังจากจัดตั้งรัฐบาลทหารในปี 2564 แล้ว พล.อ.ดากาโล รอง ปธน. ที่สวมหมวกอีกใบคือ ผู้นำกองกำลัง RSF ได้ส่งกองกำลังของตนไปทั่วประเทศ อ้างว่าเพื่อรักษาความสงบในพื้นที่และทำงานร่วมกับกองทัพซูดานของ พล.อ.อัล-บูร์ฮัน ต่อมา มีการเปิดฉากยิงโดยที่ยังไม่ระบุผู้เริ่มต้นได้ เมื่อวันที่ 15 เม.ย.ที่ผ่านมา และนั่นคือจุดเริ่มต้นของการปะทะที่กินเวลาจนถึงวันนี้ (24 เม.ย.) เกือบ 10 วัน และดูทีท่าว่าจะยังหาทางยุติลงไม่ได้ แม้บรรดานักการทูตนานาชาติต่างเรียกร้องให้ทั้ง 2 ฝ่ายหยุดยิง เพราะยิ่งทำให้ซูดานไร้เสถียรภาพเพิ่มขึ้น "ซูดาน" มีเมืองหลวง ชื่อ "คาร์ทูม" แต่มีเมืองท่าที่เป็นศูนย์กระจายสินค้าที่สำคัญของภูมิภาค ชื่อ "พอร์ตซูดาน" ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ทำรายได้ให้กับซูดานเป็นอย่างมาก เนื่องจากการขนส่งสินค้าทางเรือจากทั่วโลกไปยังประเทศอียิปต์ที่อยู่ทางเหนือของซูดาน จำเป็นต้องผ่าน "คลองสุเอซ" ที่อยู่ด้านบนของเมืองพอร์ตซูดาน *คลองสุเอซของอียิปต์ เป็นทางลัดในการลำเลียงสินค้าทางเรือระหว่างเอเชียกับยุโรป ซึ่งครอบคลุมการขนส่งกว่า 1 ใน 3 ของทั้งโลกในแต่ละปี การค้าขายของซูดานเน้นการส่งออกทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่ผ่านการแปรรูป และสินค้าที่ไม่ถูกเพิ่มมูลค่า เช่นน้ำมันดิบ ทองคำ สินค้าเกษตร ขณะที่สินค้านำเข้าคือสินค้าอุปโภค ยา เครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งมูลค่าสินค้าที่ส่งออกราคาถูกกว่าสินค้านำเข้า ก็ย่อมทำให้เกิดการขาดดุลการค้าอย่างมหาศาล จนทำให้ "ซูดาน" เป็นประเทศที่ยากจนอันดับ 4 ของโลกอ้างอิงจากเว็บไซต์ Atlas&Boote ข้อมูลวันที่ 30 พ.ย.2565 บทวิเคราะห์ : จับตาชาติมหาอำนาจชิงผลประโยชน์ในซูดาน ในแง่ประวัติศาสตร์ ซูดานเป็นแหล่งอารยธรรมเก่าแก่หลายพันปีร่วมยุคกับอียิปต์โบราณ ได้รับอิทธิพลทั้งจากอาหรับและยุโรป ศาสนาอิสลาม และ คริสต์ ซึ่งเป็นอีก 1 ชนวนปัญหาสงครามกลางเมืองที่ไม่เคยสิ้นสุดจนถึงปัจจุบัน และลามไปจนทำให้ตึก อาคารในซูดานพังยับเยิน ประชาชนไร้ซึ่งตัวอาคารในการทำงาน ผลิตสินค้า ภาคอุตสาหกรรมไม่ถูกกระตุ้น วนอยู่แบบนี้จนถึงปัจจุบัน มีปัญหามาทุกปี ข้อมูลจาก BBC ระบุว่า RSF ก่อตั้งขึ้นในปี 2556 กำเนิดจากกลุ่มติดอาวุธ จันจาวีด (Janjaweed) เป็นกองกำลังที่มีชื่อเสียงด้านความโหดเหี้ยม เคยถูกกล่าวหาเรื่องละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมถึงการสังหารหมู่ผู้ประท้วงมากกว่า 120 คนในเดือน มิ.ย 2561 และผู้กุมกองกำลังทั้งหมดคือ พล.อ.ดากาโล นานาชาติอพยพพลเรือนพ้น "ซูดาน" สู้รบยืดเยื้อ-ตายกว่า 400 คน ซึ่ง พล.อ.อัล-บูร์ฮัน มองว่ากองกำลังนอกกองทัพของ พล.อ.ดากาโล นี้เอง ที่ทรงอิทธิพล และ เป็นต้นตอของความไร้เสถียรภาพในซูดาน นักการทูตหลายคนพยายามผลักดันให้ซูดานกลับสู่การปกครองของพลเรือน และพยายามหาหนทางให้นายพลทั้ง 2 หันหน้าเข้าเจรจากัน เพื่อยุติความสูญเสียต่อประชาชนซูดานที่ขณะนี้ยอดผู้เสียชีวิตเกือบครึ่งพันแล้ว แต่กว่าจะถึงตอนนั้น ฝ่ายที่ต้องทนทุกข์กับปัญหาความไม่สงบที่ยืดเยื้อในประเทศคือ "ซูดาน" ทั้งประเทศและประชาชน พล.อ.ดากาโล ประกาศว่ากองกำลัง "RSF ของเขาจะเดินหน้าสู้ต่อไป" จนกว่าจะยึดฐานทัพทหารได้ทั้งหมด ขณะที่กองทัพซูดานของ พล.อ.อัล-บูร์ฮัน ประกาศไม่เข้าร่วมการเจรจาใดๆ "จนกว่า RSF จะสลายตัว" นานาประเทศพยายามเป็นตัวกลางเข้าร่วมเจรจา เพื่อให้ปัญหาระหว่าง 2 นายพลยุติลง ขณะที่ กระทรวงการต่างประเทศของไทยกำลังพิจารณาจุดที่เป็นไปได้ที่เหมาะสมในการรับคนไทย เมื่ออพยพออกจากซูดาน เช่น อียิปต์, ซาอุดีอาระเบีย ​รวมถึงเจรจากับมิตรประเทศในการร่วมกันอพยพคนชาติของตน

ย้อนกลับไปเมื่อปี 2564 มีการรัฐประหารรัฐบาลของ ปธน.โอมาร์ อัล-บาชีร์ เกิดขึ้น เนื่องจากการปกครองรูปแบบเผด็จการที่ยาวนานร่วม 3 ทศวรรษ โดยประชาชนประท้วงขับไล่ตามท้องถนน และกองกำลังทหารของ 2 นายพล พล.อ.อ