ฟัน ธง บอล ส เต็ ป

ฟัน ธง บอล ส เต็ ป

แม้มีความพยายามป้องปรามการจำหน่ายสลากฯ เกินราคาบนแพลตฟอร์มออนไลน์ แต่นายพันธ์ธวัช นาควิสุทธิ์ ผู้บริฟัน ธง บอล ส เต็ ป

เมื่อวันที่ 7 ธ.ค.2565 ศึกอาเซียนคัพ รอบรองชนะเลิศ นัดแรก ที่สนามบูกิต จาริล ทีมชาติไทย แชมป์กลุ่มเอ บุกไปเยือน มาเลเซีย รองแชมป์กลุ่มบี ซึ่งสถิติของทีมชาติไทย ในการลงเล่นที่บูกิตจาริลไม่ดี โดยอาเซียน

วันนี้ (1 พ.ย.2566) ดร.ศุภชัย อาวิพันธุ์ นักวิจัยกลุ่มวิจัยดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะและชีวดาราศาสตร์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) เปิดเผยว่า ปัจจุบันนักดาราศาสตร์ค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ จำนวนมากกว่า 5,000 ดวง ส่วนใหญ่เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่โคจรรอบดาวฤกษ์เพียงดวงเดียว มีดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะเพียงประมาณ 20 ดวงเท่านั้นที่ถูกค้นพบว่าโคจรรอบระบบดาวคู่ ในการค้นพบดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะที่โคจรรอบระบบดาวคู่ส่วนใหญ่จะถูกค้นพบด้วยเทคนิค การเปลี่ยนแปลงเวลาการบังกันของดาวคู่ (Eclipse timing variation) ซึ่งเป็นการสังเกตการณ์การบังกันของดาวคู่อุปราคา ถ้าในระบบดาวคู่ดังกล่าวมีดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ แรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์จะทำให้ตำแหน่งของดาวคู่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ช่วงเวลาที่เกิดการบังกันที่สังเกตการณ์ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปไม่สม่ำเสมอ "ระบบดาวคู่ RR Cae" เป็นระบบดาวคู่ที่ประกอบด้วย "ดาวแคระขาว" และ "ดาวฤกษ์มวลน้อยสีแดง" อยู่ห่างจากโลก 69 ปีแสง ก่อนหน้านี้ทีมนักดาราศาสตร์จีนค้นพบว่า ระบบดาวคู่ RR Cae มีการเปลี่ยนแปลงเวลาการบังกันของดาวคู่ ซึ่งเกิดจากผลของแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์มวลประมาณ 4.2 เท่าของมวลดาวพฤหัสบดี ที่โคจรรอบระบบดาวคู่ด้วยคาบ 11.9 ปี อ่านข่าว : เช็กอิน 5 จุดรอดู "ดาวพฤหัสบดีใกล้โลกที่สุดในรอบปี" 3 พ.ย.นี้ ในงานวิจัยนี้ทีมนักวิจัยไทยได้มีการสังเกตการณ์ระบบดาวคู่ RR Cae ด้วยกล้องโทรทรรศน์อัตโนมัติของ NARIT ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.6 เมตร PROMPT-8 ณ หอดูดาว Cerro Tololo Inter-American ประเทศชิลี แฟัน ธง บอล ส เต็ ปละกล้องโทรทรรศน์อัตโนมัติขนาด 0.7 เมตร ณ หอดูดาว Spring brook ประเทศออสเตรเลีย ร่วมกับฐานข้อมูลของกล้องโทรทรรศน์ Very Large Telescope (VLT) และกล้องโทรทรรศน์อวกาศ TESS (Transiting Exoplanet Survey Satellite) ระหว่างปี พ.ศ.2561-2563 ได้กราฟแสงขณะเกิดการบังกันของระบบดาวคู่ RR Cae ทั้งหมด 430 ครั้ง จากข้อมูลกราฟแสงการบังกันดังกล่าว ทีมวิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูล และสร้างแบบจำลองทางภายภาพของระบบดาวคู่ RR Cae ด้วย ระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง "ชาละวันคลัสเตอร์" (Chalawan High Performance Computing Cluster) ของ NARIT พบว่าดาวฤกษ์มวลน้อยสีแดงในระบบดาวคู่ มีจุดมืดและจุดสว่างขนาดใหญ่ ซึ่งไม่เคยค้นพบในงานวิจัยมาก่อนหน้านี้ ดร.ศุภชัย อธิบายเพิ่มว่า เมื่อนำข้อมูลการบังกันมาวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงเวลาการบังกันของดาวคู่ RR Cae พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงเวลาการบังกันที่เกิดจากผลของแรงโน้มถ่วงของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ 2 ดวง โดยดาวเคราะห์ดวงแรกมีมวล 3.0 เท่าของมวลดาวพฤหัสบดี โคจรรอบดาวคู่ด้วยคาบประมาณ 15 ปี และดาวเคราะห์ดวงที่ 2 ซึ่งเป็นดาวเคราะห์ใหม่ที่พึ่งถูกค้นพบ มีมวลประมาณ 2.7 เท่าของมวลดาวพฤหัสบดี และมีคาบการโคจรประมาณ 39 ปี แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของนักดาราศาสตร์ไทย และกล้องโทรทรรศน์ NARIT ในการค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะใหม่ ซึ่งจะช่วยตอบคำถามเกี่ยวกับการค้นหาสิ่งมีชีวิตนอกโลกต่อไป อ่านข่าวที่เกี่ยวข้อง รู้จัก RAMFIRE หัวฉีดจรวดพิมพ์ 3 มิติ ออกแบบโดยนาซา เช้ามืดวันออกพรรษา 29 ต.ค.66 เกิดปรากฏการณ์ "จันทรุปราคาบางส่วน" รวม “เครื่องมือ” ช่วยหาแหล่งอ้างอิง "ข่าววิทยาศาสตร์"

เมื่อวันที่ 15 ส.ค.2565 สำนักข่าวต่างประเทศ รายงานว่า หน่วยงานด้านการกำกับดูแลยาของอังกฤษ อนุมัติวัค

คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 14
การประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ของนายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีนัดแรก 13 ก.ย.นี้ นอกจากการเซอร์ไพรส์ 10 มติครม.ที่เคยหาเสียงและบางส่วนอยู่เรื่องเร่งด่วนในการแถลงนโยบายรัฐบาลแล้ว ครม.ยังเห็นชอบแต่งตั้ง นา
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่