วันนี้ (8 เม.ย.2564) นายสมบูรณ์ หอมนาน ผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว กทม. เปิดเผยว่
เครือข่ายภาคประชาชน โดยกลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน, มูลนิธิบูรณะนิเวศ, มูลนิธิเข้าถึงเอดส์, สถาบันชุมชนพัฒนาท้องถิ่นพัฒนา, มูลนิธิชีววิถีและกรีนพีชประเทศไทย ร่วมจัดเสวนา "วิพากษ์การประชุม
เครือข่ายภาคประชาชน โดยกลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน, มูลนิธิบูรณะนิเวศ, มูลนิธิเข้าถึงเอดส์, สถาบันชุมชนพัฒนาท้องถิ่นพัฒนา, มูลนิธิชีววิถีและกรีนพีชประเทศไทย ร่วมจัดเสวนา "วิพากษ์การประชุม APEC และแผนปฏิบัติการ BCG เพื่อผลประโยชน์ใคร?" หลายฝ่ายเห็นว่า แนวคิดเรื่องเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียนและเศรษฐกิจสีเขียว (Bio - Circular - Green Economy Model หรือ BCG) เป็นแนวคิดที่ดี แต่ในรายละเอียดกลับมีความย้อนแย้งและมีวาระซ่อนเร้น และเป็นไปเพื่อผลักดันสิ่งที่กลุ่มทุนขนาดใหญ่ต้องการ นายวิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ เลขาธิการมูลนิธิชีววิถี ระบุว่า แนวคิด BCG นี้ถูกขับเคลื่อนโดยทุนขนาดใหญ่หลายกลุ่มที่เข้าร่วมเป็นกรรมการ ไม่ว่ากลุ่มน้ำตาล อาหาร แอลกอฮอล์ เพื่อกำหนดทิศทางที่ทำให้กลุ่มทุนได้ประโยชน์ โดยชี้ว่ามีหลายประเด็นที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ของกลุ่มทุน เช่น การปลดล็อกกฎหมายต่างๆ ผลักดันร่าง พ.ร.บ.ความหลากหลายทางชีวภาพ เปิดทางให้มีการปลูกพืช GMO การแก้กฎหมายคุ้มครองพันธุ์พืช เพื่อแก้นิยามพันธุ์พืชพื้นเมือง รวมไปถึงการเสนอปลดล็อกกฎหมายส่งเสริมเอกชนปลูกป่าในที่ดินรัฐ 3.2 ล้านไร่ พร้อมลดภาษีคาร์บอนเครดิต หรือการเพิ่มพื้นที่ปลูกป่าเพื่อลดก๊าซเรือนกระจก มุ่งสู่เป้าหมาย Net Zero มีหลายบริษัทเริ่มดำเนินการ เช่น บริษัทพลังงาน ซึ่งมองว่าเป็นการฟอกเขียว ขณะเดียวกันเป็นการเบียดเบียนทรัพยากรของประชาชน และเปิดทางให้กลุ่มทุนอุตสาหกรรมสามารถขยายธุรกิจที่ได้มาจากการแย่งชิงทรัพยากร นางเพ็ญโฉม แซ่ตั้ง ผู้อำนวยการมูลนิธิบูรณะนิเวศ ระบุว่า เป้าหมายการผลักดันแนวคิด BCG เข้าสู่เวทีเอเปค ไทยต้องการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 4 ข้อ เช่น การสร้างระบบดู บอล ออนไลน์ true sport 3SLOTการค้าการลงทุนที่ยั่งยืน การบริหารจัดการทรัพยากร การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน การจัดการขยะ เป็นต้น แต่ในแผนปฎิบัติยังไม่ชัดเจน เช่น เรื่องเศรษฐกิจหมุนเวียน การจัดการขยะรีไซเคิล เป็นการเปิดโอกาสให้นำของเสียกลับมาใช้ใหม่ เช่น ขยะพลาสติก และไทยจะกลายเป็นศูนย์กลางรับขยะจากต่างประเทศและไม่ได้มีแนวทางว่าจะจัดการอย่างไร ด้านนายเกรียงไกร เธียรนุกุล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ในฐานะประธานสภาที่ปรึกษาทางธุรกิจเอเปค 2022 ระบุว่า การผลักดันเรื่อง BCG ถือเป็นวาระสำคัญของการประชุมปีนี้ที่จะส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืน สำหรับแนวคิด BCG รัฐบาลต้องการให้เป็นมรดกสำหรับสมาชิกเอเปคหลังจากจบการประชุม ก่อนจะส่งต่อให้กับสหรัฐอเมริกาที่จะเป็นเจ้าภาพในปี 2566 เพื่อขับเคลื่อนความร่วมมือในหมู่สมาชิกให้ดำเนินงานเรื่องนี้ร่วมกัน ข่าวที่เกี่ยวข้อง รู้จัก "โมเดลเศรษฐกิจ BCG" วาระแห่งชาติของไทยในการประชุมเอเปค 2022 ค้าน ‘APEC -โมเดล BCG’ ชี้นโยบายสวนทาง-ผูกขาดการจัดการทรัพยากร
หลังเปิดใช้งานอุโมงค์ทางเชื่อมป่าอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่-อุทยานแห่งชาติทับลาน ตั้งแต่พ.ศ.2562 พบสัตว์ป่าใช้ประโยชน์เดินข้ามหากินทั้งทางลอดใต้สะพาน และบนอุโมงค์จำนวนมาก เช่น ช้าง กระทิง หมูป่า เก้ง กวาง