“โนวัค ยอโควิช” ทูตยูนิเซฟ พบเด็กด้อยโอกาสที่เซอร์

วันนี้ (30 ส.ค.2566) ทีมข่าวไทยพีบีเอส ลงพื้นที่ตรวจสอบบ้านที่เกิดเหตุฆาตกรรมชายอายุ 73 ปี เสียชีวิต ก่อนที่จะลักทรัพย์รถยนต์กระบะ และรถจักร ยานยนต์ 2 คันไป ในขณะที่ภายในบ้านยังมีภรรยาอายุ 70 ปี ที่นอ
วันนี้ (19 ส.ค.2567) สำนักข่าว Rappler ของประเทศฟิลิปปินส์ รายงานว่ากระทรวงสาธารณสุข ประเทศฟิลิปปินส์ออกแถลงการณ์ ยืนยันการพบผู้ติดเชื้อไวรัสฝีดาษลิง หรือเอ็มพ็อกซ์ คนแรกของประเทศในปีนี้ เป็นชายชาวฟิล
วันนี้ (19 ส.ค.2567) สำนักข่าว Rappler ของประเทศฟิลิปปินส์ รายงานว่ากระทรวงสาธารณสุข ประเทศฟิลิปปินส์ออกแถลงการณ์ ยืนยันการพบผู้ติดเชื้อไวรัสฝีดาษลิง หรือเอ็มพ็อกซ์ คนแรกของประเทศในปีนี้ เป็นชายชาวฟิลิปปินส์วัย 33 ปี ซึ่งไม่มีประวัติเดินทางไปต่างประเทศ และไม่ได้เดินทางมาจากแอฟริกาหรือประเทศอื่น การยืนยันกรณีใหม่นี้ เกิดขึ้นไม่ถึงหนึ่งสัปดาห์หลังจากองค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศว่า mpox เป็นภาวะฉุกเฉินเกมสล็อต มือ ถือด้านสาธารณสุขระดับโลกเป็นครั้งที่สองในรอบ 2 ปี โดยผู้ป่วยรายนี้เป็น 1 ใน 5 ผู้ต้องสงสัยป่วยไวรัสฝีดาษลิง โดยฟิลิปปินส์เคยมีรายงานผู้ป่วยรายสุดท้ายในเดือนธ.ค.2566 อ่านข่าว ผู้เชี่ยวชาญเตือน "ไทย" เตรียมรับมือ "ฝีดาษลิง" สายพันธุ์ใหม่ สำหรับผู้ป่วยคนล่าสุด เข้ารับการรักษาเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว โดยมี "ผื่นชัดเจน" ที่ใบหน้า หลังท้ายทอย ลำตัว ขาหนีบ และแม้กระทั่งที่ฝ่ามือและฝ่าเท้า อาการเหล่านี้เป็นหนึ่งในอาการทั่วไปของโรคเอ็มพ็อกซ์ ซึ่งตามที่กระทรวงสาธารณสุขระบุว่ามีผื่นผิวหนังหรือรอยโรคบนเยื่อเมือกที่อาจปรากฏให้เห็นนานสองถึงสี่สัปดาห์ สถานการณ์โรคฝีดาษลิงในทวีปแอฟริกามากกว่า 15,000 คน เสียชีวิต 461 คน สถานการณ์โรคฝีดาษลิงในทวีปแอฟริกามากกว่า 15,000 คน เสียชีวิต 461 คน ก่อนหน้านี้ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งแอฟริกา เปิดเผยว่ามีรายงานผู้ป่วยโรคเอ็มพอกซ์มากกว่า 15,000 คน และเสียชีวิต 461 คนในทวีปแอฟริกาในปี 2567 ซึ่งเพิ่มขึ้น 160% จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว กระทั่งเมื่อวันที่ 13 ส.ค.ที่ผ่านมา หน่วยงานสาธารณสุขชั้นนำของแอฟริกาประกาศเหตุการณ์ที่เรียกว่า “ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขต่อความมั่นคงของทวีป” เนื่องจากโรคเอ็มพอกซ์ระบาดที่แพร่กระจายจากคองโกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน อ่านข่าว "สวีเดน" พบคนแรกติดเชื้อ "เอ็มพอกซ์" นอกแอฟริกา การระบาดในคองโกเริ่มต้นด้วยการแพร่กระจายของสายพันธุ์ประจำถิ่นที่เรียกว่า Clade I แต่สายพันธุ์ใหม่ที่เรียกว่า Clade Ib ดูเหมือนว่าจะแพร่กระจายได้ง่ายกว่าผ่านการสัมผัสใกล้ชิดเป็นประจำ โดยเฉพาะในเด็ก และต่อมาเมื่อวันที่ 16 ส.ค.หน่วยงานด้านสาธารณสุขสวีเดน แถลงยืนยันการพบผู้ติดเชื้อไวรัสเอ็มพอกซ์ (Mpox) หรือชื่อเดิมคือ "ฝีดาษลิง" เป็นคนแรก โดยระบุว่าเป็นไวรัสประเภท Clade 1b ที่อันตรายมากกว่าและกำลังเดินหน้าป้องกันการระบาด โดยประสานงานในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น อ่านข่าว WHO ประกาศ "ฝีดาษลิง" ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระดับโลก ต่อมาวันที่ 17 ส.ค.ยังมียืนยันติดฝีดาษลิงในผู้ป่วย 3 คนที่ประเทศปากีสถานโดยทั้ง 3 คนถูกกักตัวเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดแล้ว อ่านข่าว ยอดสะสม 787 คน "ฝีดาษลิง" ไทยตัวเลขขยับหลังสงกรานต์
วันนี้ ( 11 ธ.ค.2567) เว็บไซต์ "ฮั่วเซ่งเฮง" ภาพรวมความเคลื่อนไหวที่ผ่านมาราคาทองคำปรับตัวขึ้นทำจุดส
วันนี้ (28 เม.ย.2566) ความคืบหน้าคดีนางสรารัตน์ หรือแอม ผู้ต้องหา วางยาไซยาไนด์ ล่าสุดยอดผู้เสียชีวิ
วันนี้ (22 ก.พ.2565) พล.ต.อ.สุวัฒน์ แจ้งยอดสุข ผบ.ตร. ระบุว่า จากการตรวจสอบไม่พบว่ามีการดำเนินคดีกับ
วันนี้ (19 ส.ค.2567) สำนักข่าว Rappler ของประเทศฟิลิปปินส์ รายงานว่ากระทรวงสาธารณสุข ประเทศฟิลิปปินส์ออกแถลงการณ์ ยืนยันการพบผู้ติดเชื้อไวรัสฝีดาษลิง หรือเอ็มพ็อกซ์ คนแรกของประเทศในปีนี้ เป็นชายชาวฟิลิปปินส์วัย 33 ปี ซึ่งไม่มีประวัติเดินทางไปต่างประเทศ และไม่ได้เดินทางมาจากแอฟริกาหรือประเทศอื่น การยืนยันกรณีใหม่นี้ เกิดขึ้นไม่ถึงหนึ่งสัปดาห์หลังจากองค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศว่า mpox เป็นภาวะฉุกเฉินเกมสล็อต มือ ถือด้านสาธารณสุขระดับโลกเป็นครั้งที่สองในรอบ 2 ปี โดยผู้ป่วยรายนี้เป็น 1 ใน 5 ผู้ต้องสงสัยป่วยไวรัสฝีดาษลิง โดยฟิลิปปินส์เคยมีรายงานผู้ป่วยรายสุดท้ายในเดือนธ.ค.2566 อ่านข่าว ผู้เชี่ยวชาญเตือน "ไทย" เตรียมรับมือ "ฝีดาษลิง" สายพันธุ์ใหม่ สำหรับผู้ป่วยคนล่าสุด เข้ารับการรักษาเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว โดยมี "ผื่นชัดเจน" ที่ใบหน้า หลังท้ายทอย ลำตัว ขาหนีบ และแม้กระทั่งที่ฝ่ามือและฝ่าเท้า อาการเหล่านี้เป็นหนึ่งในอาการทั่วไปของโรคเอ็มพ็อกซ์ ซึ่งตามที่กระทรวงสาธารณสุขระบุว่ามีผื่นผิวหนังหรือรอยโรคบนเยื่อเมือกที่อาจปรากฏให้เห็นนานสองถึงสี่สัปดาห์ สถานการณ์โรคฝีดาษลิงในทวีปแอฟริกามากกว่า 15,000 คน เสียชีวิต 461 คน สถานการณ์โรคฝีดาษลิงในทวีปแอฟริกามากกว่า 15,000 คน เสียชีวิต 461 คน ก่อนหน้านี้ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคแห่งแอฟริกา เปิดเผยว่ามีรายงานผู้ป่วยโรคเอ็มพอกซ์มากกว่า 15,000 คน และเสียชีวิต 461 คนในทวีปแอฟริกาในปี 2567 ซึ่งเพิ่มขึ้น 160% จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว กระทั่งเมื่อวันที่ 13 ส.ค.ที่ผ่านมา หน่วยงานสาธารณสุขชั้นนำของแอฟริกาประกาศเหตุการณ์ที่เรียกว่า “ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขต่อความมั่นคงของทวีป” เนื่องจากโรคเอ็มพอกซ์ระบาดที่แพร่กระจายจากคองโกไปยังประเทศเพื่อนบ้าน อ่านข่าว "สวีเดน" พบคนแรกติดเชื้อ "เอ็มพอกซ์" นอกแอฟริกา การระบาดในคองโกเริ่มต้นด้วยการแพร่กระจายของสายพันธุ์ประจำถิ่นที่เรียกว่า Clade I แต่สายพันธุ์ใหม่ที่เรียกว่า Clade Ib ดูเหมือนว่าจะแพร่กระจายได้ง่ายกว่าผ่านการสัมผัสใกล้ชิดเป็นประจำ โดยเฉพาะในเด็ก และต่อมาเมื่อวันที่ 16 ส.ค.หน่วยงานด้านสาธารณสุขสวีเดน แถลงยืนยันการพบผู้ติดเชื้อไวรัสเอ็มพอกซ์ (Mpox) หรือชื่อเดิมคือ "ฝีดาษลิง" เป็นคนแรก โดยระบุว่าเป็นไวรัสประเภท Clade 1b ที่อันตรายมากกว่าและกำลังเดินหน้าป้องกันการระบาด โดยประสานงานในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น อ่านข่าว WHO ประกาศ "ฝีดาษลิง" ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระดับโลก ต่อมาวันที่ 17 ส.ค.ยังมียืนยันติดฝีดาษลิงในผู้ป่วย 3 คนที่ประเทศปากีสถานโดยทั้ง 3 คนถูกกักตัวเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดแล้ว อ่านข่าว ยอดสะสม 787 คน "ฝีดาษลิง" ไทยตัวเลขขยับหลังสงกรานต์
การศึกเปิดหลายแนวรบไม่ได้ ฉันใด พรรคเพื่อไทย ภายใต้การนำของ"บิ๊กบอส" ทักษิณ ชินวัตร ก็ย่อมตั้งรักษาฐ