Home
|
ชิง แชมป์ สโมสร โลก ถ่ายทอด ช่อง ไหน

วันนี้ ( 5 ม.ค.2568 ) พยากรณ์อากาศ 24 ชั่วโมงข้างห

ชิง แชมป์ สโมสร โลก ถ่ายทอด ช่อง ไหน

พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาแห่งประเทศอังกฤษ (Natural History Museum) เผยว่า "แร่รัตนชาติ" หรือ "แร่หิน" (Gemstone) ทรงกลมสีขาวอมชมพู ขนาด 15 เซนติเมตรก้อนหนึ่ง ที่ได้รับการจำแนกให้จัดแสดงอยู่ในแผนกสินแร่ข

วันนี้ (26 ธ.ค.66) นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ห่วงใยสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่จังหวัดภาคใต้ โดยเฉพาะจังหวัดนราธิวาส ที่ได้รับรายงานว่าประสบความเดือดร้อนมากที่สุด อ่านข่าว : เตือน 7 จังหวัดใต้ฝนตกหนั

พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาแห่งประเทศอังกฤษ (Natural History Museum) เผยว่า "แร่รัตนชาติ" หรือ "แร่หิน" (Gemstone) ทรงกลมสีขาวอมชมพู ขนาด 15 เซนติเมตรก้อนหนึ่ง ที่ได้รับการจำแนกให้จัดแสดงอยู่ในแผนกสินแร่ของพิพิธภัณฑ์มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1883 นชิง แชมป์ สโมสร โลก ถ่ายทอด ช่อง ไหนั้นแท้จริงแล้วคือ "ไข่ของไดโนเสาร์" สายพันธุ์หนึ่งที่มีชื่อว่า “ไททันโนซอรัส” (Titanosaur) ซึ่งเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลกที่เคยเดินบนพื้นดิน โดยทางพิพิธภัณฑ์ได้รับหินผลึกก้อนนี้มาจากชายนามว่า "ชาร์ลส์ เฟรเซอร์" ชาวอังกฤษผู้พำนักอาศัยในประเทศอินเดียช่วงปี ค.ศ. 1817-1843 ที่ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 2 และ 3 ของไทย ซึ่งเขาค้นพบหินผลึกก้อนนี้ ก่อนหน้าที่นักวิทยาศาสตร์จะมีแนวคิดเรื่องเผ่าพันธุ์ของไดโนเสาร์เสียอีก จนกระทั่งปี ค.ศ. 2018 "โรบิน แฮนเซน" หนึ่งในภัณฑารักษ์พิพิธภัณฑ์สังเกตว่า แร่รัตนชาติก้อนนี้มีลักษณะคล้ายไข่ไดโนเสาร์ที่เธอเคยเห็นจากพิพิธภัณฑ์ในประเทศฝรั่งเศสและเมื่อเธอนำแร่ชิ้นนี้ส่งไปตรวจสอบกับผู้เชี่ยวชาญทางด้านไดโนเสาร์แล้ว จึงได้รับการยืนยันว่าหินผลึกก้อนนี้คือซากของไข่ไดโนเสาร์ไททันโนซอรัส ตามที่กล่าวไปข้างต้น "ไททันโนซอรัส" เป็นไดโนเสาร์กินพืชคอยาวที่มีขนาดลำตัวเติบใหญ่ได้ถึง 37 เมตร พร้อมกับน้ำหนักตัวถึง 57,000 กิโลกรัม ซึ่งจากหลักฐานฟอสซิลที่มีอยู่ในปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์คาดการณ์ว่าไททันโนซอรัสนั้น มีชีวิตอยู่ในช่วงเวลาประมาณ 68 ถึง 66 ล้านปีที่แล้ว โดยไททันโนซอรัสอาจมีพฤติกรรมอาศัยร่วมกันเป็นฝูง และวางไข่ครั้งละหลายสิบฟองคล้ายกับพฤติกรรมของเต่าทะเลและจระเข้ในปัจจุบัน พอร์ล บาร์เร็ตต์ และซูซานนาห์ เมดเมนท์ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านไดโนเสาร์ของพิพิธภัณฑ์เผยว่า ซากไข่ไดโนเสาร์ฟองนี้มีอายุราว 67 ล้านปี ซึ่งถูกปกคลุมไปด้วยหินที่พบได้รอบเขตภูเขาไฟโบราณ พวกเขาจึงคาดว่าไดโนเสาร์ไททันโนซอรัสกลุ่มหนึ่งได้วางไข่รังละ 30-40 ฟองที่บริเวณใกล้ภูเขาไฟ ในที่ราบสูงเดคคานส์ ประเทศอินเดียในปัจจุบัน เนื่องจากไดโนเสาร์ไททันโนซอรัสนั้น อาจอาศัยความอบอุ่นของหินบริเวณภูเขาไฟเพื่อช่วยในการกกไข่ ซึ่งไดโนเสาร์กินพืชคอยาวกลุ่มนี้มักกลับมายังบริเวณภูเขาไฟเพื่อวางไข่ทีละหลายสิบฟองอยู่เสมอ แต่ดันปรากฏว่าภูเขาไฟได้ปะทุขึ้นในขณะที่ลูกน้อยไททันโนซอรัสกำลังเติบโตอยู่ในไข่อย่างพอดิบพอดี จนกระทั่งลาวาร้อน ๆ จากภูเขาไฟได้เคลื่อนตัวมากลบไข่ใบนี้ และตกผลึกกลายเป็นแร่รัตนชาติแทนที่เนื้อเยื่อบอบบางของไข่ไททันโนซอรัสในที่สุด ที่มาข้อมูล: Natural History Museum UKที่มาภาพ: Natural History Museum, London“รอบรู้ ดูกระแส ก้าวทันโลก” ไปกับ Thai PBS Sci & Tech

วันที่ 27 ม.ค.2564 ศูนย์ปฏิบัติการ COVID-19 จังหวัดนนทบุรี รายงานสถานการณ์ COVID-19 พบผู้ป่วยยืนยันเ

วันที่ 8 มิ.ย.2565 เจ้าหน้าที่ตำรวจตรวจสอบรูปปั้นโมไอขนาดใหญ่ น้ำหนักประมาณ 6 ตัน โดยใช้เครื่องมือสก

วันนี้ (25 ก.ย.2566) ผู้สื่อข่าวรายงานวงการอนุรักษ์ร่วมอาลัย นายนุวรรต ลีลาพตะ อดีตหัวหน้าอุทยานแห่ง

พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยาแห่งประเทศอังกฤษ (Natural History Museum) เผยว่า "แร่รัตนชาติ" หรือ "แร่หิน" (Gemstone) ทรงกลมสีขาวอมชมพู ขนาด 15 เซนติเมตรก้อนหนึ่ง ที่ได้รับการจำแนกให้จัดแสดงอยู่ในแผนกสินแร่ของพิพิธภัณฑ์มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1883 นชิง แชมป์ สโมสร โลก ถ่ายทอด ช่อง ไหนั้นแท้จริงแล้วคือ "ไข่ของไดโนเสาร์" สายพันธุ์หนึ่งที่มีชื่อว่า “ไททันโนซอรัส” (Titanosaur) ซึ่งเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลกที่เคยเดินบนพื้นดิน โดยทางพิพิธภัณฑ์ได้รับหินผลึกก้อนนี้มาจากชายนามว่า "ชาร์ลส์ เฟรเซอร์" ชาวอังกฤษผู้พำนักอาศัยในประเทศอินเดียช่วงปี ค.ศ. 1817-1843 ที่ตรงกับสมัยรัชกาลที่ 2 และ 3 ของไทย ซึ่งเขาค้นพบหินผลึกก้อนนี้ ก่อนหน้าที่นักวิทยาศาสตร์จะมีแนวคิดเรื่องเผ่าพันธุ์ของไดโนเสาร์เสียอีก จนกระทั่งปี ค.ศ. 2018 "โรบิน แฮนเซน" หนึ่งในภัณฑารักษ์พิพิธภัณฑ์สังเกตว่า แร่รัตนชาติก้อนนี้มีลักษณะคล้ายไข่ไดโนเสาร์ที่เธอเคยเห็นจากพิพิธภัณฑ์ในประเทศฝรั่งเศสและเมื่อเธอนำแร่ชิ้นนี้ส่งไปตรวจสอบกับผู้เชี่ยวชาญทางด้านไดโนเสาร์แล้ว จึงได้รับการยืนยันว่าหินผลึกก้อนนี้คือซากของไข่ไดโนเสาร์ไททันโนซอรัส ตามที่กล่าวไปข้างต้น "ไททันโนซอรัส" เป็นไดโนเสาร์กินพืชคอยาวที่มีขนาดลำตัวเติบใหญ่ได้ถึง 37 เมตร พร้อมกับน้ำหนักตัวถึง 57,000 กิโลกรัม ซึ่งจากหลักฐานฟอสซิลที่มีอยู่ในปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์คาดการณ์ว่าไททันโนซอรัสนั้น มีชีวิตอยู่ในช่วงเวลาประมาณ 68 ถึง 66 ล้านปีที่แล้ว โดยไททันโนซอรัสอาจมีพฤติกรรมอาศัยร่วมกันเป็นฝูง และวางไข่ครั้งละหลายสิบฟองคล้ายกับพฤติกรรมของเต่าทะเลและจระเข้ในปัจจุบัน พอร์ล บาร์เร็ตต์ และซูซานนาห์ เมดเมนท์ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านไดโนเสาร์ของพิพิธภัณฑ์เผยว่า ซากไข่ไดโนเสาร์ฟองนี้มีอายุราว 67 ล้านปี ซึ่งถูกปกคลุมไปด้วยหินที่พบได้รอบเขตภูเขาไฟโบราณ พวกเขาจึงคาดว่าไดโนเสาร์ไททันโนซอรัสกลุ่มหนึ่งได้วางไข่รังละ 30-40 ฟองที่บริเวณใกล้ภูเขาไฟ ในที่ราบสูงเดคคานส์ ประเทศอินเดียในปัจจุบัน เนื่องจากไดโนเสาร์ไททันโนซอรัสนั้น อาจอาศัยความอบอุ่นของหินบริเวณภูเขาไฟเพื่อช่วยในการกกไข่ ซึ่งไดโนเสาร์กินพืชคอยาวกลุ่มนี้มักกลับมายังบริเวณภูเขาไฟเพื่อวางไข่ทีละหลายสิบฟองอยู่เสมอ แต่ดันปรากฏว่าภูเขาไฟได้ปะทุขึ้นในขณะที่ลูกน้อยไททันโนซอรัสกำลังเติบโตอยู่ในไข่อย่างพอดิบพอดี จนกระทั่งลาวาร้อน ๆ จากภูเขาไฟได้เคลื่อนตัวมากลบไข่ใบนี้ และตกผลึกกลายเป็นแร่รัตนชาติแทนที่เนื้อเยื่อบอบบางของไข่ไททันโนซอรัสในที่สุด ที่มาข้อมูล: Natural History Museum UKที่มาภาพ: Natural History Museum, London“รอบรู้ ดูกระแส ก้าวทันโลก” ไปกับ Thai PBS Sci & Tech

เมื่อวันที่ 26 ก.พ.2566 ตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวนนครบาล นำกำลังเข้าตรวจค้นภายใน