วันนี้ (8 ม.ค.2567) ทางการญี่ปุ่น เปิดเผยว่า เหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 7.6 ล่าสุดทำให้มีผู้เสียชีวิตแล
วันนี้ (16 มี.ค.2566) นายประวิทย์ ใจคำ หัวหน้าอุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย จ.แพร่ รับมอบเต่าปูลู จำนวน 1 ตัว จากพลเมืองดี หลังพบเต่าปูลูตัวดังกล่าวอยู่บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1023 (บริเวณห้วยขมิ้น) ต.ป่าแ
วันนี้ (16 มี.ค.2566) นายประวิทย์ ใจคำ หัวหน้าอุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย จ.แพร่ รับมอบเต่าปูลู จำนวน 1 ตัว จากพลเมืองดี หลังพบเต่าปูลูตัวดังกล่าวอยู่บนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1023 (บริเวณห้วยขมิ้น) ต.ป่าแมต อ.เมืองแพร่ จ.แพร่ คาดว่าเต่าปูลูตัวดังกล่าวอาจจะหนีภัยไฟป่าเนื่องจากบริเวณดังกล่าวเกิดไฟไหม้ป่าจึงเกรงว่าเต่าจะได้รับอันตราย จึงทำการช่วยเหลือ และส่งมอบให้เจ้าหน้าที่นำไปดูแลอนุบาล ณ อุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย ตรวจสอบในเบื้องต้น พบว่าเต่าปูลูตัวดังกล่าวมีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีร่องรอยของบาดแผลหรือการได้รับบาดเจ็บแต่อย่างเว็บสล็อต เครดิตฟรี 300 ไม่ต้องแชร์ใด จึงปล่อยคืนสู่ธรรมชาติบริเวณลำห้วยแม่เกิ๋ง ในเขตอุทยานแห่งชาติเวียงโกศัย ซึ่งเป็นพื้นที่ที่เหมาะสมและปลอดภัย สำหรับ "เต่าปูลู" เป็นสัตว์สัญลักษณ์แห่งการป้องกันไฟป่า เนื่องจากไฟป่าเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เต่าปูลูใกล้จะสูญพันธุ์ เพราะหากเกิดไฟป่าเต่าปูลูจะได้รับอันตรายจากไฟป่าโดยตรง เพราะไม่สามารถหดหัว และขาเข้าไปในกระดองได้เหมือนเต่าชนิดอื่น แถมยังเคลื่อนตัวช้า เมื่อเกิดไฟป่าเต่าปูลูจึงตายเป็นจำนวนมาก ไฟป่าเลยเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เต่าปูลูใกล้สูญพันธุ์ ขณะที่สมาคมแม่น้ำเพื่อชีวิตร่วมชุมชนใน อ.เชียงของ จ.เชียงราย ประกาศเขตอนุรักษ์เต่าปูลู หลังถูกล่าเพื่อส่งออกและเกิดไฟป่า กระทบแหล่งอาศัย และ การวางไข่ โดยการสร้างฝายชะลอน้ำ ในลำน้ำห้วยป่าปู และแม่น้ำอิงตอนปลาย ใน ต.ห้วยซ้อ เป็นหนึ่งในความพยายามของสมาคมแม่น้ำ เพื่อชีวิต พร้อมด้วยชุมชนบ้านร้องหัวฝาย ในการสร้างพื้นที่บ้านปลอดภัยของเต่าปูลูแห่งแรกในแม่น้ำอิงและประกาศให้เป็นเขตอนุรักษ์เต่าปูลู เมื่อปีที่แล้วทางสมาคมแม่น้ำเพื่อชีวิตร่วมกับชุมชนในลุ่มน้ำอิง 7 ชุมชน ได้ทำการศึกษาวิจัยพบว่าเต่าปูลู ที่เคยมีชุกชมตามป่าต้นน้ำสาขาแม่น้ำอิง มีจำนวนลดลง ภัยคุกคามหลักคือเรื่องของการล่าเพื่อส่งออก ปัญหาไฟป่าที่เผาพื้นที่แหล่งที่อยู่อาศัย และวางไข่ของเต่า จึงมีการจัดทำบ้าน เต่าปลอดภัย นำร่องเพื่ออนุรักษ์เต่าปูลู นายเกรียงไกร แจ้งสว่าง เจ้าหน้าที่สมาคมแม่น้ำเพื่อชีวิตกล่าวว่า แม้เต่าปูลู จะมีกฎหมายคุ้มครอง แต่ปัญหาการล่าก็ยังมีอยู่ในพื้นที่ จึงต้องสร้างการมีส่วนร่วม จัดตั้งคณะทำงานในระดับชุมชน โดยมีมติชุมชน เกี่ยวกับการห้ามล่า กำหนดเขตพื้นที่ปลอดภัย ฟื้นฟูแหล่งที่อยู่อาศัยเช่น ฝายน้ำล้น ป้องกันไฟป่า การลาดตระเวน รวมถึงตั้งกองทุนบ้านเต่าปลอดภัยเพื่ออนุรักษ์พื้นที่แหล่งอาศัยของเต่าปูลู อ่านข่าวที่เกี่ยวข้อง ทั่วโลกเผชิญคุณภาพอากาศแย่ "เอเชีย" ติดอันดับมลพิษรุนแรง "นักสืบฝุ่น" เผย DNA ต้นตอฝุ่นใน กทม.
วันนี้ (9 มิ.ย.2566) นายแสวง บุญมี เลขาฯ คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) กล่าวถึงการพิจารณาคำร้อง กรณีการถือหุ้นสื่อของนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคก้าวไกลว่า เรื่องดังกล่าวมีปัญหาทางเทคนิคอยู่ คือ