"วิปรัฐบาล" จ่อยื่นญัตติด่วนตั้ง กมธ.ศึกษากฎหมายนิรโทษกรรม

วงแหวนทองคำ (Gullni hringurinn หรือ Golden Circle) คืออีกชื่อหนึ่งของเกาะไอซ์แลนด์ หรือ สาธารณรัฐไอซ์แลนด์ (Republic of Iceland) ประเทศนอร์ดิกในยุโรปเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ระหว่า

แนะติดตามเศรษฐกิจโลกใกล้ชิดหลังราคาทองดิ่งลง เลขาธิการสมาคมค้าทองคำแนะนักลงทุนรายย่อยติดตามสถานการณ์

วันนี้ (29 ส.ค.2564) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า รายการวีลแชร์เรซซิ่ง 400 เมตรชาย คลาส T 54 มีนักกีฬาไทยผ่านเกณฑ์เวลารอบคัดเลือกเข้าชิงเหรียญทองถึง 3 คน ได้แก่ ''โอ๊ต'' สายชล คนเจน เจ้าของเหรียญเงินรายการนี้

วงแหวนทองคำ (Gullni hringurinn หรือ Golden Circle) คืออีกชื่อหนึ่งของเกาะไอซ์แลนด์ หรือ สาธารณรัฐไอซ์แลนด์ (Republic of Iceland) ประเทศนอร์ดิกในยุโรปเหนือ ตั้งอยู่บนเกาะในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ ระหว่างกรีนแลนด์ นอร์เวย์ และ สหราชอาณาจักร มีเมืองหลวงคือ เรคยาวิก (Reykjavík) ประเทศไอซ์แลนด์ ประเทศไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์เป็นประเทศที่ตั้งที่อยู่ตรงกลางระหว่างแผ่นเปลือกโลกอเมริกาเหนือและแผ่นเปลือกยูเรเชียน เป็นประสล็อตออนไลน์ฟรีเครดิต ถอนได้ 2020เทศเดียวที่สามารถมองเห็นหุบเขาแนวแผ่นเปลือกโลกแยกตัว "สันเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก (Mid-Atlantic Ridge)" ที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเลได้ แผ่นเปลือกโลก 2 แผ่นใต้ประเทศไอซ์แลนด์ แผ่นเปลือกโลก 2 แผ่นใต้ประเทศไอซ์แลนด์ การแยกตัวออกจากกันอย่างต่อเนื่องของแผ่นเปลือกโลกทั้ง 2 ทำให้ไอซ์แลนด์มีภูเขาไฟจำนวนมาก ดินบนเกาะแห่งนี้เป็นผืนดินที่ยังใหม่มากและยังอยู่ในช่วงก่อตัว ไอซ์แลนด์ยังมีภูเขาไฟที่ยังตื่นอยู่นับไม่ถ้วน บางพื้นที่ที่เคยมีการปะทุของลาวาจนกระทั่งแห้งแล้วนั้น กลับเกิดสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวที่สามารถเจริญเติบโตได้ และพวกมันแพร่ขยายไปทั่วประเทศ เป็นความมหัศจรรย์ทางธรรมชาติที่ถือกำเนิดขึ้น เชิญชวนให้ทุกคนต้องมาดูด้วยตาให้ได้สักครั้งในชีวิต "ทุ่งลาวามอส (Lava field moss)" ทุ่งลาวาที่เต็มไปด้วย มอส ที่ใช้เวลากว่าร้อยปีเติบโตบนหินลาวา ทุ่งลาวาที่เต็มไปด้วย มอส ที่ใช้เวลากว่าร้อยปีเติบโตบนหินลาวา ไอซ์แลนด์ได้รับฉายาว่า "ดินแดนแห่งไฟและน้ำแข็ง" โดยส่วนของ "ไฟ" มาจากการปะทุของภูเขาไฟนับครั้งไม่ถ้วนในอดีต แต่ในปัจจุบันนั้น นักท่องเที่ยวมีโอกาสน้อยมากที่จะได้เห็นลาวาไหลออกมา  ดังนั้นสิ่งที่จะได้พบเห็นในประเทศนี้คือ "ทุ่งลาวาแห้ง" ที่มีอายุต่างๆ กันไป 5 ทุ่งลาวาชื่อดังในไอซ์แลนด์ 5 ทุ่งลาวาชื่อดังในไอซ์แลนด์ 1. Eldhraun - ทุ่งลาวามอสที่ใหญ่ที่สุดในโลก ครอบคลุมพื้นที่ 565 ตร.กม. "ทุ่งลาวาเอลธรอน" เกิดการปะทุในปี 2326-2327 (200 กว่าปีที่แล้ว) ถือเป็นการปะทุที่อันตรายที่สุด มีก๊าซพิษปริมาณมากที่ยังหลงเหลือจนถึงปัจจุบัน เหตุการณ์ครั้งนั้นส่งผลกระทบเชิงลบต่อไอซ์แลนด์ ประชากรทั้งหมดถูกบังคับให้อพยพไปยังเดนมาร์ก สัตว์เลี้ยงบนเกาะมากกว่าครึ่งหนึ่งตาย หลังจากลาวาแข็ง พื้นที่ถูกปล่อยรกร้าง สถานที่แห่งนี้กลับถูกใช้เป็นที่ฝึกลูกเรือยานอวกาศอพอลโล 11 ซ้อมเดินบนดวงจันทร์เนื่องจากมีความคล้ายคลึงกับพื้นผิวดวงจันทร์ Eldhraun - ทุ่งลาวามอสที่ใหญ่ที่สุดในโลก Eldhraun - ทุ่งลาวามอสที่ใหญ่ที่สุดในโลก แม้จะถูกปกคลุมไปด้วยมอสที่ใช้เวลาเกือบร้อยปีกว่าจะโต แต่ดินในทุ่งลาวาเอลธรอนก็ยังมีความเปราะบางมาก และเป็นสาเหตุที่ทางการไอซ์แลนด์ไม่อนุญาตให้เดินบนทุ่งลาวามอส วิธีที่ดีที่สุดที่จะเก็บความประทับใจคือ จอดรถในบริเวณลานจอดที่จัดเตรียมไว้ และเดินบนเส้นทางที่กำหนด ถ่ายภาพ ซึ่งไม่ว่าจะหันไปมุมไหน ก็สามารถถ่ายภาพความประทับใจได้ทุกมุม ด้วยพื้นที่อันกว้างใหญ่สุดลูกหูลูกตา 2. Leirhnjukur - ทุ่งลาวาที่ยังคุกรุ่นอยู่ เป็นปล่องภูเขาไฟที่ยังคุกรุ่นอยู่ การปะทุครั้งสุดท้ายจะเกิดขึ้นในปี 2527 หรือเกือบ 40 ปีมาแล้ว แต่ทางการไอซ์แลนด์ยังคงเฝ้าระวังภูเขาไฟลูกนี้อยู่ ลาวาที่อยู่ในบริเวณนี้ยังมีความร้อนสะสม มีไอน้ำที่ร้อนพุ่งตัวออกมาตามรอยแยกแผ่นดินเป็นระยะๆ หากนักท่องเที่ยวเดินทางมาแนะนำให้เดินเฉพาะเส้นทางที่ถูกกำหนดไว้เท่านั้น ลาวาที่นี่ยังไม่แข็งตัวอย่างสมบูรณ์ บางพื้นที่ยังเป็นเนินดินเหนียวอยู่ Leirhnjukur - ทุ่งลาวาที่ยังคุกรุ่นอยู่ Leirhnjukur - ทุ่งลาวาที่ยังคุกรุ่นอยู่ และที่นี่อาจจะไม่เห็นมอสเกิดขึ้น หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะยังเป็นทุ่งลาวาที่อายุน้อยที่สุดใน 5 ทุ่งลาวาชื่อดังของไอซ์แลนด์ 3. Dimmuborgir - ทุ่งลาวาแห่งป้อมปราการ ทุ่งลาวาขนาดใหญ่ประกอบด้วย ถ้ำ ภูเขาไฟ และ แนวหิน ทำให้จินตนาการเหมือนป้อมปราการโบราณที่พังทลายลงมา และเป็นที่มาของชื่อ Dimmuborgir ที่แปลว่าป้อมปราการในภาษาไอซ์แลนด์ Dimmuborgir - ทุ่งลาวาแห่งป้อมปราการ Dimmuborgir - ทุ่งลาวาแห่งป้อมปราการ บริเวณนี้เมื่อ 2,300 ปีก่อนเกิดการปะทุของภูเขาไฟ ลาวาไหลผ่านทะเลสาบ ทำให้เกิดการเดือดและเย็นตัวที่เร็วกว่าปกติจนสร้างรูปแบบทางธรณีขึ้นมาเป็นเสาสูงคล้ายป้อมปราการ 4. Berserkjahraun - ทุ่งลาวาโบราณอายุ 4,000 ปี ทุ่งลาวาแห่งนี้เกิดจากการปะทุของปล่องภูเขาไฟ 4 ลูกเมื่อกว่า 4,000 ปีที่แล้ว ลาวาที่ไหลออกมาเผาผลาญพื้นที่เป็นวงกว้าง แต่สุดท้ายก็ยังก่อเกิดพืชมอสขึ้นมา นับเป็นทุ่งลาวามอสที่มีอายุเก่าแก่มากอีกแห่งหนึ่งของไอซ์แลนด์ Berserkjahraun - ทุ่งลาวาโบราณอายุ 4,000 ปี Berserkjahraun - ทุ่งลาวาโบราณอายุ 4,000 ปี ทุ่งลาวาแห่งนี้เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยว เพราะมีความสวยงามตลอดทั้งปี และบริเวณโดยรอบยังเป็นอุทยานแห่งชาติ เป็นแหล่งชมนก เส้นทางเดินป่า ได้รับการขนานนามว่า "ไอซ์แลนด์จิ๋ว (Iceland in miniature)" 5. Londrangar - ที่อยู่ของภูตจิ๋ว ซากปล่องภูเขาไฟที่ถูกกัดเซาะอยู่ริมทะเล ความเชื่อโบราณชาวไอซ์แลนด์คิดว่า บริเวณนี้เป็นที่อยู่ของเอลฟ์ จุดเด่นของ Londrangar คือภูเขาหินบะซอลต์ความสูง 75 เมตรบนหน้าผาที่เกิดจากการปะทุของภูเขาไฟเมื่อปี 2278 หรือเกือบ 300 ปีมาแล้ว นอกจากนั้นแล้ว บริเวณรอบๆ Londrangar ยังมีทุ่งลาวามองที่สวยงามเป็นบริเวณเล็กๆ อีกด้วย Londrangar - ที่อยู่ของภูตจิ๋ว Londrangar - ที่อยู่ของภูตจิ๋ว พื้นที่ส่วนใหญ่ของไอซ์แลนด์เป็นภูเขาไฟ ลาวาที่ร้อนมากจากในอดีตอาจจะเย็นตัวลงแล้วในปัจจุบัน แต่ประชาชนและนักท่องเที่ยวต้องรู้ว่า ใต้ผืนแผ่นลาวาที่เย็นตัวลงแล้วนั้น อาจจะยังมีลาวาที่ยังร้อนระอุอยู่ ลาวาชั้นบนสุดอาจแตกหักง่ายเมื่อถูกเหยียบ และการเดินบนลาวาอาจเป็นอันตรายต่อประวัติศาสตร์ทางธรณีวิทยาด้วย สำนักงานสิ่งแวดล้อมไอซ์แลนด์ ระบุว่า ไม่ว่าจะเป็นพื้นที่ ทุ่งลาวา หรือ ทุ่งลาวามอส ต่างถูกคุ้มครองด้วยกฎหมายคุ้มครองพิเศษ มาตรา 61 แห่ง พ.ร.บ.อนุรักษ์ธรรมชาติของไอซ์แลนด์ มอสที่เจริญเติบโตบนลาวาที่แห้งสนิท มอสที่เจริญเติบโตบนลาวาที่แห้งสนิท เส้นทางเดินชมความสวยงาม ทุ่งลาวามอส เส้นทางเดินชมความสวยงาม ทุ่งลาวามอส ป้ายเตือนให้เดินตามเส้นทางที่กำหนดไว้ ป้ายเตือนให้เดินตามเส้นทางที่กำหนดไว้ รู้หรือไม่ : ที่มา : Guide to iceland, Pinatravel

วันนี้ (5 พ.ค.2564) พ.ต.อ.สุชาติ​ สุชาติ วงศ์อนันต์ชัย ที่ปรึกษาประธานกรรมการ บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า​ วันนี้ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบกลาง พิจารณารับคำฟ้องกรณี ที่บ